340 likes | 529 Views
สำนักงบประมาณ. สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี WWW.BB.GO.TH. ร ะบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ : องค์ประกอบที่สำคัญ. การประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF). มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง
E N D
สำนักงบประมาณ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรีWWW.BB.GO.TH สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์:องค์ประกอบที่สำคัญระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์:องค์ประกอบที่สำคัญ การประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF) • มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ • เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง • ผลผลิตและตัวชี้วัด • การมอบอำนาจการบริหารจัดการงบประมาณ • เน้นให้กระทรวงมีอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จมากกว่าเน้นกฎระเบียบ การเพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ • เน้นหลักการธรรมาภิบาล - การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละระดับ - มีระบบการติดตามประเมินผลและการรายงานผลการดำเนินงานที่โปร่งใส และตรวจสอบได้ ระบบการติดตามและประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 2
ผลผลิต / โครงการ งานสนับสนุน (เพื่อนำส่งผลผลิต) กิจกรรมหลัก กิจกรรม(สนับสนุน) PART SPBB วางแผน(Planning) ผล(Results) กระทรวง ยุทธศาสตร์(Ministry Strategy) เป้าหมายการให้บริการ(Service Delivery Target) ผลลัพธ์จริง (Actual Outcomes) หมวด ก. หมวด จ. กรม แผนกลยุทธ์ เป้าหมายการให้บริการ ผลลัพธ์เบื้องต้น (Preliminary Outcomes) ผลผลิตจริง หมวด ข. หมวด ง. หมวด ค. ค่าใช้จ่าย (Cost) ทางตรง(Direct) ทางอ้อม(Indirect)
ศัพท์ของ SPBB ที่ควรทราบ เป้าหมายการให้บริการกระทรวง: หมายถึง ผลลัพธ์ที่กระทรวงต้องการให้เกิดขึ้นจากการให้บริการระดับกระทรวงทั้งนี้จะต้องสอดคล้องและเชื่อมโยงกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติของรัฐบาล ซึ่งผลลัพธ์ดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้จากผลสำเร็จของผลผลิต และโครงการของหน่วยงานของรัฐ เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน: หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานหรือเพื่อดำเนินการจัดทำผลผลิต/โครงการตามที่กำหนดไว้ของหน่วยงานระดับกรม ซึ่งจะนำไปสู่ความสำเร็จของเป้าหมายการให้บริการกระทรวง ผลลัพธ์: หมายถึง ผลประโยชน์ที่เกิดจากการกระทำที่มีต่อกลุ่มเป้าหมายหรือกลุ่มสังคมที่ได้รับบริการ ผลผลิต:หมายถึง ผลของการดำเนินงานตามกิจกรรม ซึ่งอาจเป็นผลผลิต Product หรือการให้บริการ Service ที่ดำเนินงานโดยหน่วยงานของรัฐ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
ศัพท์ของ SPBB ที่ควรทราบ(ต่อ) ตัวชี้วัด -ตัวชี้วัดระดับผลผลิตเช่น สินค่าที่ได้ผลิต และบริการที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ สามารถเขียนตัวชี้วัดที่เป็นรูปธรรมประกอบด้วย 4 มิติ คือ เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ เชิงเวลา และเชิงต้นทุน (QQTC) -ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ เช่นผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมายสามารถเขียนตัวชี้วัดที่เป็นรูปธรรมประกอบด้วย 5 มิติ คือ เชิงปริมาณ (Quantity)เชิงคุณภาพ(Qaulity) เชิงเวลา (Time) กลุ่มเป้าหมาย(Target Group) และสถานที่(Place) สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
การเขียนเป้าหมายการให้บริการในระดับต่างๆการเขียนเป้าหมายการให้บริการในระดับต่างๆ ระดับยุทธศาสตร์ กลุ่มเป้าหมายได้แก่ สังคมในภาพรวมหรือพื้นที่ในภาพรวม หรือรัฐบาลในภาพรวม เช่น ประชาชน ทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศ รัฐบาล ฯลฯ ระดับยุทธศาสตร์กระทรวง กลุ่มเป้าหมายได้แก่ กลุ่มสังคมที่กระทรวงรับผิดชอบ หรือพื้นที่เฉพาะที่กระทรวงรับผิดชอบ หรือองค์กรบริหารของกระทรวง เช่น กลุ่มวัยแรงงาน ทรัพยากรน้ำ รายรับของรัฐบาล ฯลฯ ระดับกลยุทธ์ของกรม กลุ่มเป้าหมายได้แก่ กลุ่มผู้รับบริการที่กรมรับผิดชอบ หรือพื้นที่เฉพาะที่กรมรับผิดชอบ หรือองค์กรบริหารของกรม เช่น กลุ่มวัยแรงงานที่ไม่มีงานทำ เขตชลประทาน ฯลฯ
วิธีทบทวนว่าเป้าหมายการให้บริการที่เขียนไว้ถูกต้องหรือไม่ตอบคำถามให้ได้ว่าวิธีทบทวนว่าเป้าหมายการให้บริการที่เขียนไว้ถูกต้องหรือไม่ตอบคำถามให้ได้ว่า • เป้าหมายการให้บริการในแต่ละระดับคือกลุ่มเป้าหมายใด • การให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายนั้นคืออะไร • กลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์อะไรจากการบริการ
ผลผลิตหมายถึง ผลการดำเนินงานตามกิจกรรมที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นผลผลิต (Product) ประเภทสิ่งของหรือการให้บริการ (Service) ที่ดำเนินงานทั้งในรูปแบบการให้บริการโดยตรง หรือการใช้วัตถุสิ่งของและหรือสิ่งก่อสร้าง เพื่อนำไปใช้ในการให้บริการองค์กรภายนอกหน่วยงานหรือประชาชน โดยมีตัวชี้วัดผลสำเร็จในเชิงปริมาณ คุณภาพ เวลา ค่าใช้จ่าย (Q Q T C)
การกำหนดผลผลิต มีองค์ประกอบดังนี้ สินค้า สิ่งของ หรือบริการที่ได้จากการดำเนินงานของหน่วยงานทั้งในรูปแบบการให้บริการโดยตรง หรือโดยการใช้วัตถุสิ่งของหรือสิ่งก่อสร้างเพื่อนำไปใช้ในการให้บริการต่อกลุ่มเป้าหมายภายนอกหน่วยงาน ต้องสอดคล้องและสัมพันธ์ กับเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ต้องสัมพันธ์กับพันธกิจ หรือภารกิจของหน่วยงานที่กำหนดตามกฎหมายจัดตั้งหรือกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวข้องหรือนโยบายรัฐบาลที่ได้รับมอบหมาย มีลักษณะเป็นรูปธรรมสามารถวัดผลการดำเนินงานได้ในเชิงปริมาณ คุณภาพ เวลาและค่าใช้จ่าย/ต้นทุน ตอบสนองกลยุทธ์หน่วยงานและเป็นผลผลิตสุดท้ายในกระบวนการผลิต หรือการให้บริการ
การทดสอบคุณสมบัติที่ดีของตัวชี้วัดการทดสอบคุณสมบัติที่ดีของตัวชี้วัด 1. ความสมเหตุสมผลที่อธิบายได้ (Validity) 2. ความมีอยู่ของข้อมูล (Availability of Data) 3. ความเชื่อถือได้ของข้อมูล (Reliability of Data) 4. ความเคลื่อนไหวของผลที่เกิดขึ้น (Sensitivity) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปริมาณ หรือคุณภาพของการดำเนินกิจกรรม ซึ่งอาจเป็นเชิงบวกหรือลบได้
การเขียนตัวชี้วัดระดับผลผลิต (Q Q C T) เชิงปริมาณ (Quantity) ให้ระบุจำนวนของผลผลิต เช่น “จำนวนอาคารก่อสร้างแล้วเสร็จ” “จำนวนผู้ผ่านการฝึกอบรม” เชิงคุณภาพ (Quality) ให้ระบุมาตรฐานของผลผลิต เช่น “อาคารก่อสร้างตามแบบที่กำหนด” “ผู้ผ่านการฝึกอบรมตามเกณฑ์การทดสอบ” เชิงต้นทุน (Cost) ให้ระบุต้นทุนของผลผลิต เช่น“ราคาต่อหน่วย(ภายในวงเงินที่กำหนด)” เชิงเวลา (Time) ให้ระบุความรวดเร็วในการสั่งมอบผลผลิตเช่น “ไม่เกิน 30 นาทีต่อราย”
การกำหนดตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริการหน่วยงานการกำหนดตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน คือ การกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ/ผลลัพธ์ของการดำเนินงานของหน่วยงาน ทั้งนี้ตัวชี้วัดควรแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จที่มีต่อกลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการในเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ พื้นที่ที่ดำเนินการ และระยะเวลาในการบรรลุผลสำเร็จ ( 2 Q 2 T1 P )
การเขียนตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ของกระทรวงและระดับกลยุทธ์ของหน่วยงาน( 5 มิติ 2 Q 2 T 1 P ) - การวัดเชิงปริมาณ(Quantity) ใช้ตัวเลขที่เป็นอัตราส่วนมาตรา (RaitoScale) ช่วงมาตรา (Interval Scale)และลำดับมาตรา (OrdinalScale) เช่น “อัตราส่วนของเยาวชนที่ติดยาเสพติด ต่อเยาวชนทั้งหมดของประเทศ”“รายได้เฉลี่ยของเกษตรกรเพิ่มขึ้นจากบาทเป็นบาท”“สัดส่วนของผู้หญิงที่เป็นผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐเพิ่มขึ้นจาก1 ใน 4เป็น 1 ใน 2 ”เป็นต้น - การวัดเชิงคุณภาพ(Quality)ใช้ตัวเลขที่เป็นนามมาตรา (Nominal Scale) เช่น“กฎหมายที่กำหนดให้ภรรยาที่จดทะเบียนสมรส ต้องเปลี่ยนสกุลเป็นของสามีได้รับการยกเลิก”“หน่วยงานได้รับรางวัลองค์กรยอดเยี่ยมในด้านจากองค์กรระหว่างประเทศ”
การวัดเชิงเวลา (Time) กำหนดได้ 2 ลักษณะ 1. กรณีต้องการวัดเมื่อสิ้นสุดเวลาของแผนระยะยาวหรือสิ้นสุดโครงการ เช่น “ ภายในสิ้นแผนบริหารราชการแผ่นดินปี” หรือ “ เมื่อสิ้นสุดปี” มักใช้กับกรณีผลการปฏิบัติงานไม่สามารถแสดงได้ในปีที่ 1 แต่จะมีผลเกิดขึ้นเต็มที่ในปีที่ 4 จึงต้องกำหนดว่าปีใด 2. กรณีที่ต้องการวัดเมื่อสิ้นสุด แต่ละรอบเวลาภายในเวลาของแผนระยะเวลา เช่น “เพิ่มขึ้นร้อยละต่อปี”หรือ“ลดลงร้อยละต่อปี” มักใช้วัดความสำเร็จของผลการปฏิบัติงานที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีที่แล้ว
การวัดเชิงกลุ่มเป้าหมาย(Target Group) การวัดเชิงสถานที่(Place) ต้องเขียนให้ชัดเจนว่า จะวัดความสำเร็จของกลุ่มเป้าหมายนั้นเป็นสิ่งใด เช่น ประชาชน พื้นที่ กลุ่มวัยแรงงาน ฯลฯ ต้องระบุในกรณีที่ดำเนินการในพื้นที่เฉพาะ เช่น “ในจังหวัด” “ในเขตโครงการ”ส่วนกรณี “ทั่วประเทศ” ไม่จำเป็นต้องเขียนหากเป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไป
ข้อควรระวัง - การจัดทำตัวชี้วัดต้องให้ตรงประเด็นและเป็นที่เข้าใจได้โดยบุคคลทั่วไป - ต้องกำหนดจำนวนตัวชี้วัดให้ได้น้อยที่สุด โดยเลือกตัวแปรเพียงตัวเดียวจากกลุ่มตัวแปรที่ใช้มาเป็นตัวชี้วัด หรือตัดทอนตัวแปรที่คล้ายคลึงกันออกไป - ต้องจัดทำตัวชี้วัดด้วยความประหยัดโดยการใช้ข้อมูลที่ได้จัดเก็บไว้แล้วตามปกติจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่ก่อน หากจำเป็นแต่ไม่มีจึงค่อยจัดเก็บใหม่และดูความคุ้มค่าในการใช้งานด้วย
แผนภูมิการนำ PARTไปใช้ในกระบวนการงบประมาณ ขั้นตอนที่ 1 การจัดทำงบประมาณ กรม กำหนดนโยบายงบประมาณ สงป .แจ้งส่วนราชการฯให้จัดทำคำของบประมาณฯ สงป. ชุด ก,ข,ค,ง,จ ส่วนราชการ ฯ จัดทำคำของบประมาณ ครม. เห็นชอบร่าง พ.ร.บ. งบประมาณประจำปี สงป . จัดทำร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ขั้นตอนที่ 2 การอนุมัติงบประมาณ • รัฐสภาพิจารณาอนุมัติร่าง พ.ร.บ. • วาระที่ 1 , คณะกรรมาธิการ ,วาระที่ 2 ชุด ก,ข ค,ง,จ พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี วุฒิสภา ขั้นตอนที่ 3 การบริหารงบประมาณ สงป .แจ้งส่วนราชการฯจัดทำแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ กรมบัญชีกลาง สงป. เห็นชอบแผน ชุด ง ปรับแผน โอนเปลี่ยนแปลง ส่วนราชการฯ จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินงานตามแผน ขั้นตอนที่ 4 การติดตามและประเมินผล สงป.ติดตามประเมินผล รายไตรมาสและประจำปี การติดตามผลการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงาน ทุกส่วนราชการฯรายงานผลตามแผนการ ปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี ชุด จ ชุด จ 18
ภาพรวมการบริหารองค์การภาพรวมการบริหารองค์การ วางแผนกลยุทธ์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผู้มีส่วนได้เสีย และ เครือข่ายพหุภาคี มาตรฐานการผลิต และการบริการ ยุทธ์ศาสตร์ ผลกระทบ ค่าใช้จ่าย การจัดการความรู้ และสารสนเทศ ภาวะผู้นำ ยุทธศาสตร์กำลังคน บริหาร-พัฒนาบุคคล PART - ความคุ้มค่า HRscorecard คำรับรอง PMQA
การประเมินผล โดย PART Performance Assessment Rating Tool “การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ” สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
ผู้บริหาร ของหน่วยงานต้องสามารถ อธิบายหรือแสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยง ความสอดคล้อง ความเหมาะสม ของเป้า หมายการให้บริการของหน่วยงานกับเป้าหมายชาติ มี กระบวนการการกำหนดความต้องการ มี ผลผลิตที่กำหนดขึ้นจากความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และ หน่วยงานต้องคำนึงถึง อุปสรรคและข้อจำกัดที่มีต่อการนำส่ง ผลผลิต หมวด ก. จุดมุ่งหมาย และ รูปแบบ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
ข. การวางแผนกลยุทธ์ • เป้าหมายระยะยาวที่ชัดเจน • รายละเอียดแผนกลยุทธ์ หน่วยงานต้องมีการจัดทำแผนกลยุทธ์ที่แสดงความเชื่อมโยงและถ่ายทอดภารกิจจากเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์มายังผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรมได้ตามลำดับ มี การกำหนดเป้าหมายผลผลิตระยะยาว สามารถ จำแนกผลผลิตเป็นรายปี มี การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มี แผนการประเมินผล กำหนดให้มี กระบวนการการวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลง สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
หมวด ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ หน่วยงานต้องแสดงให้เห็นความก้าวหน้าในการบรรลุเป้าหมายผลผลิต โดยจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี มี การกำหนดกิจกรรมหลักที่เชื่อมโยงกับทรัพยากรที่ต้องการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายผลผลิต มี ตัวชี้วัดความก้าวหน้าตามระยะเวลาที่กำหนดทุกกิจกรรม มี กิจกรรมเพื่อคำนวนต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต มี การทบทวนผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
หมวด ง. การบริหารจัดการ ต้องให้ความสำคัญ กับหน่วยนำส่งผลผลิต หน่วยนำส่งผลผลิต มีการจัดทำและบริหารแผนการปฏิบัติงาน และแผนการใช้จ่ายงบประมาณ มี การจัดทำระบบรายงานข้อมูลย้อนกลับ มี การนำข้อมูลย้อนกลับไปใช้ในการบริหารจัดการ และการปรับปรุงงาน มี การนำต้นทุนต่อหน่วยไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการมี การวัดผล การดำเนินงาน วัดประสิทธิภาพ และความคุ้มค่า มี รายงานผลการตรวจ สอบทางการเงิน และมี การประเมินบุคคลผู้รับผิดชอบผลผลิต สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
หมวด จ. ผลผลิต / ผลลัพธ์ มี การเปรียบเทียบผลลัพธ์กับ เป้าหมายระยะยาว มีการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้กับเป้าหมายประจำปี มี การเปรียบเทียบผลผลิตและเป้าหมาย ผลผลิตกับหน่วยงานภายนอกที่คล้ายคลึงกัน มี ผลของการประเมินของผู้ประเมินอิสระที่แสดงให้เห็นถึงการบรรลุผลสำเร็จ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
Performance Assessment Rating Tool (PART) • ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ • ชัดเจน • ชี้แจง / อธิบายได้ • 6 ข้อ 10 คะแนน • ข. การวางแผนกลยุทธ์ • เป้าหมายระยะยาวที่ชัดเจน • รายละเอียดแผนกลยุทธ์ • 7 ข้อ 20 คะแนน • จ. ผลผลิต/ ผลลัพธ์ • เปรียบเทียบแผนกับผล • - การเพิ่มประสิทธิภาพ • การใช้เงินอย่างคุ้มค่า • 5 ข้อ 30 คะแนน รวม 30 ข้อ • ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ • เป้าหมายประจำปีที่ชัดเจน • รายละเอียดแผนกลยุทธ์ • ต้นทุนแท้จริง • 5 ข้อ 20 คะแนน • ง. การบริหารจัดการ • - การบริหารหน่วยงาน • - การบริหารการเงิน • - การเพิ่มขีดความสามารถ • การเก็บรวบรวมข้อมูล • 7 ข้อ 20 คะแนน สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
การสรุปผลการวิเคราะห์ระดับคะแนนรวมการสรุปผลการวิเคราะห์ระดับคะแนนรวม • ได้คะแนนรวมน้อยกว่า 60 คะแนน แสดงผลเป็นสีแดง • ได้คะแนนรวมอยู่ในช่วง 60 - 85 คะแนน แสดงผลเป็นสีเหลือง • ได้คะแนนรวมมากกว่า 85 คะแนน แสดงผลเป็นสีเขียว สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
ผลการประเมิน ผลที่ได้ คะแนนเต็ม กราฟเรดาร์ ก 4 10 ข การวางแผนกลยุทธ์ 14 20 ค การเชื่อมโยงงบประมาณ 13 20 ง การบริหารจัดการ 16 20 จ ผลผลิต/ผลลัพธ์ 3 3 0 ผลรวม 50 100 กลุ่มสี สีแดง ชุดคำถาม จุดมุ่งหมายและรูปแบบ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
ประโยชน์จากการใช้ PART : ตรวจสอบตนเอง : ปรับปรุงพัฒนาตนเอง : มีความพร้อมในการประเมินจากภายนอก : เป็นหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล ส่วนราชการ : จัดสรรงบประมาณให้ตามแผน : ทางเลือกและความคุ้มค่าในการใช้งบประมาณ : เพื่อปรับปรุงการวางแผน การบริหาร และ การติดตาม ประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณ สำนักงบประมาณ รัฐบาล : การใช้จ่ายงบประมาณก่อให้เกิดผลงานตาม นโยบายรัฐบาล สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
ข้อสรุป PART เป็น Self – Assessment แข่งขันกับตัวเอง ทำด้วยตนเอง ยอมรับความจริง สิ่งใดที่ยังไม่มี ก็ทำให้มี สิ่งใดที่มีปัญหา ก็ต้องแก้ไข สิ่งใดที่ทำดีแล้ว ก็พัฒนาให้เป็นมาตรฐาน คะแนนเป็นเพียงภาพสะท้อน เราอยู่ในระดับไหนจะพัฒนาหรือไม่ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
อย่าลืมว่า ทุกระดับทุกกิจกรรมต้องมีความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
จบการนำเสนอ สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี