580 likes | 2.31k Views
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ที่มีความผิดปกติการไหลเวียนเลือดและน้ำเหลือง ในภาวะเฉียบพลัน วิกฤตและเรื้อรัง อ . พรรณี ไพศาลทักษิน อ . วิภา เอี่ยมสำอางค์ จารามิลโล. เนื้อหา. การประเมินสภาพผู้ป่วย
E N D
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุที่มีความผิดปกติการไหลเวียนเลือดและน้ำเหลืองในภาวะเฉียบพลัน วิกฤตและเรื้อรังอ. พรรณี ไพศาลทักษินอ.วิภา เอี่ยมสำอางค์ จารามิลโล
เนื้อหา • การประเมินสภาพผู้ป่วย • การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะHypertension & ความผิดปกติของหลอดเลือด • การพยาบาลผู้ป่วย • ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ • ภาวะการบีบรัดหัวใจ • ภาวะปอดบวมน้ำ • โรคหลอดเลือดหัวใจ • การพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ • การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการช็อกหัวใจด้วยไฟฟ้า • การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
Preload and Afterload Figure 18.21
Cardiac output = Heart rate x stroke volume Arterial Blood pressure = cardiac output x TPR Pulse Pressure: ค่าความแตกต่างของ BPs &BPd Pulse pressure = BPs- BPd mmHg Mean pressure : ค่าความดันเฉลี่ยในขณะที่หัวใจ เต้นแต่ละครั้ง (BPs- BPd) Mean Arterial pressure (MAP)= [(2xdiastolic)+systolic] 3
ปริมาตรของเลือดในหัวใจปริมาตรของเลือดในหัวใจ • End diastolic volume (EDV) 120-130 ml • - ปริมาตรเลือดใน ventricle ก่อนหดตัว • End systolic volume (ESV) 50-60 ml - ปริมาตรเลือดที่ค้างอยู่ในหัวใจหลังสิ้นสุดการหดตัว • Stroke volume (SV) • - ปริมาตรเลือดที่ถูกบีบบออกจากหัวในในแต่ละครั้ง ในคนปกติ ขณะพักมีค่าประมาณ 70-80 ml
ปัจจัยที่มีผลต่อ End Diastolic volume (EDV) • Diastolic time (Filling time) - ช่วงเวลาที่เลือดไหลกลับสู่หัวใจจาก atrium สู่ ventricle 2. Venous return -ปริมาณเลือดดำที่ไหลกลับสู่หัวใจ 3. การยืดขยายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ -การยืดขยายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจได้ดี ทำให้มีเลือดไหลกลับเข้ามาได้มาก แต่ถ้ายืดขยายมากเกินไป จะทำให้การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง (ตามกฎของ Franks Straling’s law of heart)
ปัจจัยที่มีผลต่อ End systolic volume (ESV) 1.ความแรงในการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ: Contractibility เพิ่มมากขึ้นมีผลทำให้ ESV ลดลง ช่น การกระตุ้น sympathetic หรือการได้รับยาที่เพิ่มแรงบีบหัวใจ 2. Afterload : ความดันในหลอดเลือดแดง ที่ต้านการบีบตัวของหัวใจ 3. ปัจจัยอื่นๆ เช่น ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
Stroke volume 1. ความแรงของการบีบตัว preload : initial length stretched before contract 2. Afterload ; ESV ตัวกำหนดคือ ความต้านทานการไหลของเลือดจาก หลอดเลือดแดง 3.Cardiac contractility
Lymphatic System Circulatory System
ปัจจัยที่มีผลต่อ CO - Preload - Afterload - Myocardial contractility - Heart rate - Metabolic stage • Cardiac output • CO = HR (beats/minute) X SV (liters/beat) • Normal adult: 4-8 liters/minute
การประเมินสภาพ 1. การซักประวัติ • การเจ็บป่วย / อาการเจ็บหน้าอก • การใช้ยา / การรักษา/การผ่าตัด • แบบแผนสุขภาพ
2. การตรวจร่างกาย สัญญาณชีพ - BP ควรวัดเปรียบเทียบกันทั้งสองข้าง - ค่าของ BP ที่วัดจากแขนจะสูงกว่าที่วัดจากขา 10 mmHg ประเมินดูการไหลเวียนเลือดมาเลี้ยงอวัยวะส่วนปลาย - ประเมินสีผิวหนัง / Capillary filling time- Skin temperature / Skin turgor / Edema - peripheral pulses - Chest pain
ค่าแรงดันเลือดดำ(jugular venous pressure) ค่าปกติน้อยกว่า 3 ซม.
การเต้นของหัวใจ ( Heart Sound) - อัตรา - จังหวะ - ความแรง murmur • เป็นเสียง ฟู เป็นสียงที่เกิดจากการ สั่นสะเทือน ขณะที่การไหลของโลหิตผ่านรูเปิดของลิ้นหัวใจที่มีความผิดปกติ
murmur • เกิดจาก.......... • เลือดไหลผ่านบริเวณที่ตีบ • เลือดไหลผ่านลิ้นหัวใจหรือผนังหลอดเลือดที่ไม่เรียบ • เลือดไหลผ่านช่องแคบสู่ช่องที่กว้าง • การไหลกลับของเลือดจากลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท • เลือดไหลผ่านช่องทางที่ผิดปกติ
ความรุนแรงของลิ้นหัวใจผิดปกติที่ทำให้ได้ยินเสียง Murmer • GRADE 1 เบาต้องใช้ ความพยายาม • GRADE 2 เบาแต่ได้ยินทันที • GRADE 3 เสียงดังพอสมควร • GRADE 4 ดังและคลำได้ thrill • GRADE 5 ดังมากและคลำ thrill ได้ • GRADE 6 เสียงดังมาก แม้ยก stethoscopeพ้นทรวงอกคลำ thrill ได้ คลำประเมินการไหลเวียนเลือดมาเลี้ยงอวัยวะส่วนปลาย - คลำชีพจรส่วนปลายตามบริเวณต่างๆและเปรียบเทียบกัน
อาการเจ็บหน้าอก • ลักษณะการเจ็บ • ตำแหน่งการเกิด • อาการเจ็บร้าว • ความรุนแรง • ระยะเวลา • ปัจจัยที่นำและเพิ่มความรุนแรง • อาการร่วมที่เกิดขึ้น • ปัจจัยที่ช่วยบรรเทาอาการเจ็บหน้าอก
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงการพยาบาลผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง การวัด BP ควรวัดในท่าแขนอยู่ในระดับเดียวกับหัวใจและมีที่รองแขน ควรวัดหลังจากให้ผู้ป่วยนั่งพัก 30 นาที ในการประเมินครั้งแรก ควรเปรียบเทียบกัน ทั้งสองข้าง เลือกขนาดของcuff ให้เหมาะสม,inflate cuff อย่างช้าๆ
The Seventh Report of the Joint National Committee on Treatment of High Blood Pressure uses the following guidelines to define HTN in adults: (Brashers, 2006, p.1)
Pre hypertension - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน ,health promotion - อาจใช้ยารักษา กรณีมีโรคเบาหวานและไตร่วมด้วย Stage 1 - ส่วนใหญ่ รักษาโดยให้ยาขับปัสสาวะ Stage 2 - ส่วนใหญ่ รักษาโดยให้ยาร่วมกัน 2 ตัว Stage of hypertension and treatment strategy
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (hypertensive crisis) • BPd มากกว่า 120-130 mmHg • การประเมินอาการเริ่มแรก เป็นสิ่งสำคัญ - อาการของเลือดไปเลี้ยงหัวใจ สมอง ไต ไม่เพียงพอ: ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน สับสน อาจมีอาการชัก ปัสสาวะออกน้อย • ดูแลการได้รับยาขยายหลอดเลือด Sodium Nitroprusside - ผสมยาใน D5W เท่านั้น เมื่อเตรียมเสร็จควรใช้ยาทันที และต้องป้องกันยาจากแสง หลังผสมยาแล้ว เก็บยาตู้เย็นที่ 4 oCได้นานประมาณ 24 ชั่วโมง - สีของ Nitroprusside เป็นสีส้มจาง แต่ถ้ายาเสื่อมจะกลายเป็นสีเข้มขึ้น ส้มแดง น้ำตาลหรือน้ำเงิน
หลักการวัดความดันโลหิตหลักการวัดความดันโลหิต • ควรวัดหลายๆ ครั้ง ในต่างวาระ • ให้นั่งพักอย่างน้อย 5 นาที • ควรวัดในท่านั่ง และแขนวางในระดับเสมอหัวใจ • ใช้ arm cuff ขนาดของถุงลมประมาณ 80% ของเส้นรอบวงแขน หรือ ถุงลมขนาด 12-13ซม.* 35 ซม.ในคนทั่วไป ถ้า cuff เล็กเกินไป BP จะสูงเกินความเป็นจริง แต่ถ้าใหญ่เกินไป BP จะต่ำเกินความเป็นจริง • ใช้เสียง korotkoff phase 5 (เสียงหาย) เป็น DBP • ในการตรวจครั้งแรกควรวัดที่แขน2 ข้าง • พัน arm cuff ที่แขนในระดับเดียวกับหัวใจไม่ว่าจะอยู่ท่าใด
Health education in hypertension • ควบคุมน้ำหนัก , งดสูบบุหรี & แอลกอฮอล์, ไม่เครียด • การรับประทานยาไม่ใช่การรักษา แต่เป็นการควบคุมระดับความดันโลหิต และห้ามหยุดยาเอง หรือปรับเปลี่ยนขนาดยาโดยไม่ปรึกษาแพทย์ • รับประทานอาหารที่มีโปตัสเซียมสูง / ลดอาหารที่มีรสเค็ม • หลีกเลี่ยงการอาบน้ำร้อน เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือออกกำลังกายหนักในช่วง 3 ชั่วโมงหลังรับประทานยา *** ระวังการเกิด postural hypotension **** • Isotonic(dynamic) exercise อย่างสม่ำเสมอ
ยาที่สำคัญในระบบหัวใจและหลอดเลือดยาที่สำคัญในระบบหัวใจและหลอดเลือด • 1.Epinephrine (adrenaline) • 2.Dopamine / Dubutrex • 3.Digitalis • 4.Sodium nitroprusside • 5.Nitroglycerin (NTG) • 6.Streptokinase • (**ข้อบ่งชี้และการพยาบาลในผู้ป่วยที่ได้รับยา**)
ยาที่สำคัญในระบบหัวใจและหลอดเลือดยาที่สำคัญในระบบหัวใจและหลอดเลือด • 1.Epinephrine (adrenaline) • 2.Dopamine / Dubutrex • 3.Digitalis • 4.Sodium nitroprusside • 5.Nitroglycerin (NTG) • 6.Streptokinase • (**ข้อบ่งชี้และการพยาบาลในผู้ป่วยที่ได้รับยา**)
ยาที่ใช้รักษาผู้ป่วยที่มีความดันลิตสูง® ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ยา® การพยาบาล/คำแนะนำในการรับประทานยา