1.33k likes | 1.93k Views
ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับงานสารบรรณ. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบ กห.ว่าด้วยหนังสือราชการ พ.ศ.๒๕๒๗ ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๗ อื่น ๆ . ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย งานสารบรรณ(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘.
E N D
ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับงานสารบรรณระเบียบที่เกี่ยวข้องกับงานสารบรรณ • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม • ระเบียบ กห.ว่าด้วยหนังสือราชการ พ.ศ.๒๕๒๗ • ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๗ • อื่น ๆ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ อิเล็กทรอนิกส์ การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือวิธีการอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน และรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีการต่าง ๆ เช่นว่านั้น
ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่าน ระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
จัดทำ รับ ทำลาย งาน สารบรรณ ส่ง ยืม เก็บรักษา
ความหมายของหนังสือราชการความหมายของหนังสือราชการ • หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ • หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ • หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือมีไปถึงบุคคลภายนอก • หนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการหรือบุคคลภายนอก มีมาถึงส่วนราชการ
ความหมายของหนังสือราชการ (ต่อ) • เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อเป็นหลักฐาน ในราชการ • เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ • ข้อมูลข่าวสาร หรือหนังสือที่ได้รับจากระบบ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ชนิดของหนังสือราชการ ๑. หนังสือภายนอก ๒. หนังสือภายใน ๓. หนังสือประทับตรา ๔. หนังสือสั่งการ ๕. หนังสือประชาสัมพันธ์ ๖. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็น หลักฐานในราชการ
หนังสือภายนอก หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี โดยใช้ กระดาษตราครุฑ เป็นหนังสือติดต่อระหว่างส่วนราชการ หรือส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ ส่วนราชการหรือที่มีไปถึงบุคคลภายนอก
องค์ประกอบของหนังสือภายนอกองค์ประกอบของหนังสือภายนอก • เป็นหนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี • เป็นหนังสือติดต่อระหว่างส่วนราชการต่างกระทรวง • เป็นหนังสือที่ส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ
องค์ประกอบของหนังสือภายนอก (ต่อ) • เป็นหนังสือที่ส่วนราชการมีถึง บุคคลภายนอก • เป็นหนังสือที่ใช้กระดาษตราครุฑ • ใช้คำเต็ม
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก ที่: ลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจำของเจ้าของเรื่อง ทับด้วยเลขทะเบียนหนังสือส่งของเจ้าของหนังสือ สำหรับหนังสือของ คณก. ให้กำหนดรหัสพยัญชนะเพิ่มขึ้นได้ตามความจำเป็น เช่น ที่ กห ๐๖๐๒/ หรือ ที่ กห ๐๖๒๒(กปช)/
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) รหัสพยัญชนะ : พยัญชนะสองตัวใช้แทนชื่อกระทรวง ทบวง ส่วนราชการที่ไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง หรือจังหวัด เช่น สำนักนายกรัฐมนตรี นร กระทรวงกลาโหม กห กระทรวงมหาดไทย มท
ส่วนราชการที่ไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง หรือจังหวัด ราชบัณฑิตยสถาน : รถ สำนักงานอัยการสูงสุด : อสสำนักพระราชวัง : พว สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา : สวสำนักราชเลขาธิการ : รล สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน : ตมสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร : สม
เลขประจำของส่วนราชการเจ้าของเรื่องเลขประจำของส่วนราชการเจ้าของเรื่อง ประกอบด้วยเลขสี่ตัว สำหรับราชการบริหารส่วนกลางตัวเลขสองตัวแรก: สำหรับกระทรวง หรือทบวง หมายถึง ส่วนราชการระดับกรม โดยเริ่มจากเลข ๐๑ เรียงไปตามลำดับส่วนราชการฯ สำหรับส่วนราชการที่ไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ให้ใช้ตัวเลข ๐๐
กระทรวงกลาโหมกำหนดไว้ ดังนี้ สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี ๐๑สำนักงานปลัดกระทรวง ๐๒กองบัญชาการทหารสูงสุด ๐๓กองทัพบก ๐๔กองทัพเรือ ๐๕กองทัพอากาศ ๐๖กรมราชองครักษ์ ๐๗
เลขประจำของส่วนราชการเจ้าของเรื่องเลขประจำของส่วนราชการเจ้าของเรื่อง ประกอบด้วยเลขสี่ตัว สำหรับราชการบริหารส่วนกลางตัวเลขสองตัวหลัง หมายถึง ส่วนราชการระดับกอง (ระดับ ทอ.ได้แก่ นขต.ทอ.) โดยเริ่มจากเลข ๐๑ เรียงไปตามลำดับส่วนราชการฯ(หากมีการเปลี่ยนแปลงโดยยุบส่วนราชการใดให้ปล่อยตัวเลขนั้นว่าง หากจัดตั้งส่วนราชการขึ้นใหม่ให้ใช้เรียงลำดับถัดไป)
ตัวอย่างเช่น สำนักงานเลขานุการกองทัพอากาศ ๐๑กรมสารบรรณทหารอากาศ ๐๒กรมกำลังพลทหารอากาศ ๐๓กองบัญชาการฝึกศึกษาทหารอากาศ ๑๒กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ๑๒.๒สำนักงานผู้บังคับทหารอากาศดอนเมือง ๑๗กรมกิจการพลเรือน ๒๒
ส่วนบัญชาการ ส่วนกิจการพิเศษ ส่วนกำลังรบ ส่วนยุทธบริการ ส่วนการศึกษา กองทัพอากาศ สลก.ทอ. บยอ. บนอ. บศอ. กง.ทอ. สบ.ทอ. พล.บ.๑ ศกบ. ยศ.ทอ. สก.ทอ. กพ.ทอ. พล.บ.๒ ชอ. (รร.นม., รร.คท., ศวอ.ทอ. ขว.ทอ. พล.บ.๓ ส.ทอ. รร.รสว., รร.จอ.) สตช.ทอ. ยก.ทอ. พล.บ.๔ สพ.ทอ. สอส. สน.ผบ.ดม. กบ.ทอ. คปอ. พธ.ทอ. (วทอ. รร.สธ.ทอ., สปช.ทอ. อย. ชย.ทอ. รร.นอส., รร.นฝ.) จร.ทอ. รร.การบิน ขส.ทอ. รร.นอ. สท.ทอ. ฝูงบินอิสระ พอ. กร.ทอ. ลวอ. อท.ทอ.
ส่วนราชการต่ำกว่าส่วนราชการระดับกรมส่วนราชการต่ำกว่าส่วนราชการระดับกรม หากจำเป็นต้องออกหนังสือเอง ให้ส่วนราชการระดับกรมเจ้าสังกัดกำหนดเลขรหัสให้ไม่เกินสามตำแหน่ง โดยให้ใส่จุด (.) หลังเลขประจำของเจ้าของเรื่องที่เป็นเลขสี่ตัว แล้วต่อด้วยเลขรหัสที่กำหนดขึ้น
ทอ.ได้กำหนดเลขรหัสให้กับกองหรือแผนกที่เป็นหน่วยขึ้นตรงของ นขต.ทอ.สำหรับใช้กับหนังสือที่ออกในระดับ นขต.ทอ.แล้ว... เช่น ที่ กห๐๖๐๒.๒/กรมสารบรรณทหารอากาศกระทรวงกลาโหม ดอนเมือง กทม.๑๐๒๑๐กองทัพอากาศกรมสารบรรณทหารอากาศกองเสมียนตรากองเสมียนตรา
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) • ส่วนราชการเจ้าของหนังสือ: ลงชื่อส่วน ราชการ หรือชื่อ คณก.ซึ่งเป็นเจ้าของหนังสือ ฉบับนั้น โดยปกติให้ลงที่ตั้งไว้ด้วย เช่น • กองทัพอากาศ ดอนเมือง กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) วัน เดือน ปี: ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน ตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออกหนังสือ เช่น ๒๔ มีนาคม ๒๕๔๘
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) เรื่อง: ลงเรื่องย่อที่มีใจความสั้นที่สุด ของหนังสือฉบับนั้น ในกรณีที่เป็นหนังสือต่อเนื่อง โดยปกติให้ลงชื่อเรื่องเดิมของหนังสือนั้น เช่น เรื่องขอรับการสนับสนุนวิทยากร
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) คำขึ้นต้น: ให้ใช้คำขึ้นต้นตามฐานะของผู้รับหนังสือ ตามตารางที่กำหนด แล้วลงตำแหน่งของผู้ที่หนังสือนั้นมีถึง หรือลงชื่อบุคคลในกรณีที่มีถึงตัวบุคคลที่ไม่เกี่ยวกับตำแหน่งหน้าที่ เช่นเรียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย หรือ เรียน นายเสนาะ งามสะอาด
คำขึ้นต้น คำลงท้าย • พระราชวงศ์ • พระภิกษุ • บุคคลธรรมดา
บุคคลธรรมดา • กราบเรียน ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง • เรียน ขอแสดงความนับถือ
พระภิกษุ • นมัสการ ขอนมัสการด้วยความเคารพ
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) อ้างถึง(ถ้ามี): ให้อ้างถึงหนังสือที่เคยติดต่อกัน หากมีหลายฉบับให้อ้างถึงฉบับสุดท้ายที่ติดต่อกันเพียงฉบับเดียว โดยให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของหนังสือ เลขที่หนังสือ และวันที่ เดือน พ.ศ.ของหนังสือนั้น เช่น อ้างถึง หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนมาก ที่ กค ๐๑๐๓/๕๖ ลงวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๐
การอ้างถึง... กระทำได้ ๓ กรณี คือ ๑. อ้างถึง หนังสือที่ส่วนราชการได้รับมา แล้วจะต้อง ตอบหนังสือฉบับนั้นไป๒. อ้างถึงหนังสือส่วนราชการที่มีไปฉบับแรก และจำเป็นต้องมีหนังสือตามไปอีกเป็นฉบับที่สอง หรือที่สามในเรื่องเดียวกัน๓. อ้างถึงหนังสืออื่น เช่น กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ ข้อตกลงต่าง ๆ
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) สิ่งที่ส่งมาด้วย (ถ้ามี): ให้ลงชื่อ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร และจำนวนที่จะส่งไปพร้อมกับหนังสือฉบับนั้น ทุกรายการ เช่น สิ่งที่ส่งมาด้วย หนังสือจอมทัพไทยกับกองทัพอากาศ จำนวน ๒๕ เล่ม
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) ข้อความ: ให้ลงสาระสำคัญของเรื่องให้ชัดเจนและเข้าใจง่าย หากมีความประสงค์หลายประการ ให้แยกเป็นข้อ ๆ
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) คำลงท้าย: ให้ใช้คำลงท้ายตามฐานะของผู้รับหนังสือ ตามตารางการใช้ คำขึ้นต้น สรรพนาม และคำลงท้าย ที่กำหนดไว้
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) ลงชื่อ: ให้ลงลายมือชื่อหัวหน้าส่วน ราชการเจ้าของหนังสือ หรือผู้ได้รับมอบหมาย และให้พิมพ์ชื่อเต็มของ เจ้าของลายมือชื่อไว้ในวงเล็บใต้ ลายมือชื่อ
ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ โรงเรียนทหาร พ.ศ.๒๕๔๒ ผู้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ มีสิทธิใช้ตำแหน่งทางวิชาการประกอบยศทหารและคำนำหน้านามอื่นในการลงชื่อหนังสือ เอกสารงานสารบรรณได้
การเรียงลำดับคำนำหน้านามการเรียงลำดับคำนำหน้านาม ๑. ยศ ๒. ตำแหน่งทางวิชาการ ๓. บรรดาศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์
ตัวอย่างการเขียนคำนำหน้านามตามลำดับตัวอย่างการเขียนคำนำหน้านามตามลำดับ หนังสือภายนอก (กระดาษตราครุฑ) นาวาอากาศเอก (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หม่อมหลวง.........) ตำแหน่ง
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) ตำแหน่ง: ให้ลงตำแหน่งของเจ้าของหนังสือ เช่น พลอากาศเอก (ชลิต พุกผาสุข) ผู้บัญชาการทหารอากาศ
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) กรณีผู้ได้รับมอบหมายเป็นผู้ลงชื่อแทน ให้ลงตำแหน่งของผู้ลงชื่อนั้น แล้วตามด้วยตำแหน่ง ของเจ้าของหนังสือ เช่น พลอากาศเอก (ไพศาล สีตบุตร) รองผู้บัญชาการทหารอากาศ ทำการแทน ผู้บัญชาการทหารอากาศ
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง: ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง(ต่ำกว่าส่วนราชการเจ้าของหนังสือ ๑ ระดับการจัดส่วนราชการ) เช่น กรมสารบรรณทหารอากาศ
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสือ อยู่ในระดับกระทรวง หรือทบวง ให้ลงชื่อส่วนราชเจ้าของเรื่อง ทั้งระดับกรม และ กอง
ที่ กห๐๖๐๕/ กระทรวงกลาโหมกระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย กทม.๑๐๒๑๐กองทัพอากาศกรมยุทธการทหารอากาศกองทัพอากาศกรมยุทธการทหารอากาศ
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) โทร.: ให้ลงหมายเลขโทรศัพท์ ของส่วนราชการเจ้าของเรื่องที่ดำเนินการในเรื่องนั้นโดยตรง หากมีโทรสาร หรือไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ให้เขียนไว้ในบรรทัดถัดมา เช่น โทร. ๐ ๒๕๓๔ ๑๕๗๘ โทรสาร ๐ ๒๕๓๔ ๑๕๗๖ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
หัวข้อการเขียนหนังสือภายนอก (ต่อ) สำเนาส่ง (ถ้ามี): กรณีที่ผู้ส่งทำสำเนาเรื่องนี้ส่งไปให้ส่วนราชการ หรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องทราบ และประสงค์จะบอกให้ผู้รับหนังสือรู้ ก็ให้พิมพ์ชื่อส่วนราชการ หรือบุคคลที่ส่งสำเนาไปให้ไว้ด้วย เช่น สำเนาส่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์พ.ศ.๒๕๒๗
ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๗ • การบริหารและการสั่งการจะต้องทำในนามของ หน.ส่วนราชการ • หน.ส่วนราชการไม่สามารถปฎิบัติหน้าที่ได้ ให้ผู้ดำรงตำแหน่ง รอง ผู้ช่วย หรือ เสธ.ของส่วนราชการนั้น ทำการแทน ได้เป็นการชั่วคราว เช่น น.อ. รอง จก.สบ.ทอ.ทำการแทน จก.สบ.ทอ.
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๗ • กรณีมีการมอบอำนาจให้ หน.ส่วนราชการ ทำการแทนหรือสั่งการในอำนาจของผู้บังคับบัญชา เช่น ผบ.ทอ. มอบอำนาจให้ จก.สบ.ทอ. สั่งการแทนในเรื่องการบอกบุญเรี่ยไร จก.สบ.ทอ. จึงมีอำนาจสั่งการในเรื่องดังกล่าวแทน ผบ.ทอ.ได้ทั้งหมดไม่ว่าจะสั่งใน ทอ.หรือติดต่อกับหน่วยเกี่ยวข้อง
ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๗ การบันทึกตำแหน่งกรณีมีการสั่งการ รับคำสั่ง ผบ.ทอ. พล.อ.ต. จก.สบ.ทอ. การบันทึกตำแหน่งกรณีติดต่อกับหน่วยเกี่ยวข้อง พล.อ.ต. จก.สบ.ทอ.ทำการแทน ผบ.ทอ.
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์พ.ศ.๒๕๒๗ กรณีมีการมอบอำนาจให้ หน.ส่วนราชการ ทำการแทนหรือสั่งการในอำนาจของ ผบช. แต่ปรากฏว่า หน.ส่วนราชการ นั้นไม่สามารถ ปฎิบัติหน้าที่ได้เป็นครั้งคราวให้ รอง ผู้ช่วย หรือ เสธ.ของส่วนราชการนั้นทำการแทนหรือ สั่งการแทนได้
ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยการสั่งการและประชาสัมพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๗ การบันทึกตำแหน่งกรณีมีการสั่งการ รับคำสั่ง ผบ.ทอ. น.อ. รอง จก.สบ.ทอ.ทำการแทน จก.สบ.ทอ.