490 likes | 870 Views
การประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อควบคุมกำกับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ร.บ.การสาธารณสุข 2535. ปิยมา ภรณ์ ดวงมนตรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย. หัวข้อการบรรยาย. หลักการและแนวคิดการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ. 1.
E N D
การประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อควบคุมกำกับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพพ.ร.บ.การสาธารณสุข 2535 ปิยมาภรณ์ ดวงมนตรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย
หัวข้อการบรรยาย หลักการและแนวคิดการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 1 การประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 2 2
ความหมายและความสำคัญของ HIA ความหมาย : การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Impact Assessment) กระบวนการ วิธีการและเครื่องมือ ที่หลากหลาย ที่ใช้เพื่อการคาดการณ์ถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากนโยบาย แผนงานหรือโครงการที่มีต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน และการกระจายของผลกระทบในกลุ่มประชากร และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจะกำหนดถึงกิจกรรมที่เหมาะสมในการจัดการผลกระทบเหล่านั้น (องค์การอนามัยโลก/IAIA 2006)
หลักการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพหลักการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ • ใช้หลักความเข้าใจสุขภาพองค์รวม/ปัจจัยกำหนดสุขภาพ/ความเชื่อมโยงของการพัฒนาสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ • ใช้หลักพิจารณาด้วยเหตุและผลเปรียบเทียบจากหลักฐานวิทยาศาสตร์/ข้อมูลเชิงประจักษ์ต่างๆ • อาศัยการมีส่วนร่วมในการพิจารณาจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ทำให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและสนใจ/ตระหนักต่อสุขภาพ • ให้ความสำคัญต่อผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อชุมชนทุกคน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงไวต่อการรับสัมผัส • ช่วยพิจารณาการพัฒนาแบบยั่งยืนที่อาศัยหลักของผลกระทบระยะสั้น ระยะยาว
กรอบแนวคิด :ความเชื่อมโยงของการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ โครงการพัฒนา ความเสี่ยงเกิดจากกิจกรรมทั้งก่อนดำเนินการ ระหว่างดำเนินการ ปิดโครงการ เกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ ผลกระทบต่อสุขภาพทางกาย ใจ สังคม ส่งผลต่อ คนงานและประชาชน ที่อยู่โดยรอบ ผลกระทบด้านบวก ผลกระทบด้านลบ มาตรการในการส่งเสริม มาตรการในการลดผลกระทบ
ปัจจัยที่ เกิดการเปลี่ยนแปลง ผลกระทบ ต่อสุขภาพ กิจกรรมของโครงการ • สุขภาพกาย • สุขภาพจิต • สุขภาพสังคม • ดี หรือไม่ดี สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ระบบบริการสาธารณสุข การมีงานทำ วิถีชีวิตของคนในชุมชน/สวล.ทางสังคม • การเตรียมพื้นที่ก่อสร้าง • การก่อสร้าง • การขนส่งวัตถุดิบ • สาธารณูปโภคที่ใช้ • กระบวนการผลิต • ของเสียเกิดขึ้น • เทคโนโลยีที่กำจัด • ขนส่งผลผลิต • หลังดำเนินโครงการ • ฯลฯ
ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ ชีวมวล ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากโครงการโรงไฟฟ้า ผลกระทบต่อสุขภาพ กระบวนการผลิต มลพิษ การขนส่งเชื้อเพลิง - ฝุ่นละออง - อุบัติเหตุ การบาดเจ็บ/อุบัติเหตุจากการก่อสร้าง การคมนาคม - ฝุ่นละออง - ไฮโดรคาร์บอน - โรคระบบทางเดินหายใจ หอบหืด การเก็บเชื้อเพลิง แหล่งน้ำ การแย่ง ชิงน้ำ โรคระบบทางเดินหายใจ หอบหืด หม้อไอน้ำ (Boiler) • SOx , NOx, CO2 • VOCs • โลหะหนัก • ฝุ่นละออง • น้ำอุณหภูมิสูงขึ้น • - เสียงดัง • - ความร้อน ปรับปรุงคุณภาพน้ำ น้ำอุณหภูมิสูงขึ้น(ระบบนิเวศ ถูกทำลาย) การเจ็บป่วยจากพิษโลหะหนัก กังหันไอน้ำ/กังหันแก๊ส โรคระบบทางเดินหายใจ หอบหืด ระบบหล่อเย็น -ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า สูญเสียการได้ยิน เดือดร้อนรำคาญ อุณหภูมิในชุมชนใกล้เคียงเพิ่มสูงขึ้น กระแสไฟฟ้า
พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม(EIA/EHIA) โครงการพัฒนา ขนาดใหญ่ ประชาชนได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 135 กิจการ) กิจการขนาดเล็ก • กิจกรรมอื่นๆ เช่น • การใช้สารเคมีทางการเกษตร • การจัดการขยะ • การท่องเที่ยว
กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพ.ร.บ.การสาธารณสุขกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 HIA
สนับสนุนการประยุกต์ใช้ HIA เพื่อการควบคุมกิจการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
ที่มา • มาตรา๓๒ เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการประกอบกิจการตามมาตรา๓๑ (กิจการที่รมต.ประกาศกำหนด ) ให้ราชการส่วนท้องถิ่นมีอำนาจออกข้อกำหนดท้องถิ่นดังนี้ ( ๑) กำหนดประเภทกิจการ.... (๒)กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขทั่วไปให้ผู้ดำเนินกิจการปฏิบัติเกี่ยวกับการดูแลสภาพหรือสุขลักษณะของสถานที่และมาตรการการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ • มาตรา๓๓ วรรคสอง ....ราชการส่วนท้องถิ่นอาจกำหนดเงื่อนไขโดยเฉพาะให้ผู้ประกอบการปฎิบัติเพิ่มเติมจากเงื่อนไขทั่วไป....
ที่มา • กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรการในการควบคุมสถานประกอบการกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.2545 ข้อ 2 ผู้ดำเนินกิจการในสถานประกอบกิจการประเภทที่ราชการส่วนท้องถิ่นได้ออกข้อกำหนดให้เป็นกิจการที่ต้องควบคุมและมีผลใช้บังคับในท้องถิ่นนั้นแล้ว ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามกฎกระทรวงนี้
เครื่องมือประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สำหรับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตามพ.ร.บ.การสาธารณสุข 2535
แบบประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (checklist) • ช่วยให้การตรวจประเมินมีความคงเส้นคงวา (Consistency) • ครอบคลุมเรื่องที่ต้องตรวจประเมินได้ทั้งหมด • ทำให้เกิดการตรวจประเมินเป็นระบบ • เกิดความต่อเนื่อง ไม่สะดุด ติดขัด
วัตถุประสงค์ • เพื่อเป็นเครื่องมือทางวิชาการ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประยุกต์ใช้ในการตรวจประเมินสถานประกอบกิจการก่อนเสนอให้ผู้บริหารของอปท.อนุญาตประกอบการ • เพื่อใช้เป็นเครื่องมือประยุกต์ใช้ในการกำกับ ติดตามตรวจสอบการประกอบกิจการ
กรอบแนวคิดการประยุกต์ใช้หลักการ HIA ในพ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมกำกับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ) เงื่อนไขในการควบคุมกำกับดูแลการประกอบกิจการ คือ 1) การดูแลสุขภาพ หรือ สุขลักษณะของสถานที่ที่ใช้ดำเนินกิจการ และ 2) มาตรการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ สภาวะสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบการทั้งในด้านการดูแลรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบของโครงสร้างอาคาร การรักษาสภาพการใช้งานของเครื่องมือ อุปกรณ์ ระบบการระบายอากาศ แสง เสียง ระบบการจัดการสิ่งปฏิกูลมูลฝอย สุขลักษณะของสถานที่ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ระบบป้องกันอุบัติภัย อัคคีภัย ระบบการป้องกันการปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์อาหาร ระบบการป้องกันตนเองของผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันปัญหาด้านมลพิษที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของคนงาน ชุมชนข้างเคียง และประชาชนทั่วไป มาตรการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ การคมนาคมขนส่ง/การติดตามตรวจสอบ/ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ฯลฯ มาตรการอื่นๆ • - ให้ความสำคัญกับมิติสุขภาพมากขึ้น ** โดยพิจารณาตั้งแต่ระยะก่อสร้างจนถึงระยะดำเนินกิจการ ** • สามารถใช้เครื่องมือในการตรวจประเมินได้กับทุกพื้นที่ และใช้เป็นเครื่องมือในการกำกับติดตาม
เป้าหมาย ส่งเสริม สนับสนุนให้เทศบาลในเขตจังหวัดมีการใช้เครื่องมือการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพเพื่อควบคุมการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
การจัดทำเครื่องมือการประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพการจัดทำเครื่องมือการประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ กิจการ 1. กิจการโรงสีข้าว 2. กิจการเลี้ยงไก่ 3. กิจการหอพัก 4. กิจการสระว่ายน้ำ 5. กิจการอู่เคาะพ่นสี 6. กิจการย้อมกัดสีผ้า 7. กิจการตาก สะสม ขน ถ่าย มันสำปะหลัง 8. กิจการเลื่อย ซอย ขัด ไส เจาะ ขุดร่อง ทำคิ้ว ตัดไม้ ด้วยเครื่องจักร กระบวนการผลิต มลพิษ 4. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อม 5. สุขอนามัยของผู้ปฎิบัติงาน 6. น้ำดื่ม น้ำใช้ อาหาร 7. สัตว์และแมลงพาหะนำโรค 1. สถานที่ตั้ง 2. สุขลักษณะ/โครงสร้าง 3. เครื่องจักร อุปกรณ์ 8. มลพิษทางอากาศ และเสียง 9. น้ำเสีย มูลฝอย ของเสียอันตรายและสิ่งปฎิกูล 10. การป้องกันเหตุรำคาญ ก่อนเปิด ระหว่างดำเนินการ
รูปแบบของแบบประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อควบคุมการประกอบกิจการ • ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป • ชื่อสถานประกอบกิจการ • ที่ตั้งสถานประกอบกิจการ • ค่าพิกัดของสถานประกอบกิจการ • ใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ • ชื่อผู้ขอใบอนุญาต • ชื่อเจ้าของ • ปีที่เริ่มดำเนินการ • ขนาดพื้นที่สถานประกอบกิจการ • เวลาทำงานของสถานประกอบกิจการ
รูปแบบของแบบประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อควบคุมการประกอบกิจการ (ต่อ) • ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) • จำนวนผู้ปฏิบัติงานประจำ • แผนผังที่ตั้งแสดงเส้นทางเข้า – ออกและบริเวณใกล้เคียงในระยะ 1 ก.ม. • แผนผังภาพรวมของกระบวนการผลิต • ชนิดของวัตถุดิบ/ สารเคมี ที่ใช้ในกระบวนการผลิต และปริมาณการจัดเก็บ • ชนิดของเครื่องจักร/ เชื้อเพลิง ที่ใช้ในกระบวนการผลิต • การจัดทำแผนหรือมาตรการจัดการ ควบคุม ดูแล สถานประกอบกิจการใน ระยะก่อนก่อสร้าง (สถานที่ตั้ง/ สุขลักษณะสถานประกอบกิจการ/ ความปลอดภัยของเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ / การป้องกันเหตุรำคาญ/ อื่นๆ) (ถ้ามี) • การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงใน ระยะก่อนก่อสร้างสถานประกอบกิจการ (ถ้ามี)
รูปแบบของแบบประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อควบคุมการประกอบกิจการ (ต่อ) ส่วนที่ 2 การตรวจสอบสถานประกอบกิจการระยะก่อนประกอบการ ส่วนที่ 3 มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการระยะประกอบการ ส่วนที่ 4 สรุปความเห็นของเจ้าหน้าที่
แนวทางในการควบคุมความเสี่ยงที่เกิดขึ้นแนวทางในการควบคุมความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ควบคุม ป้องกัน จัดการ ใน 3 ส่วน 1. Source แหล่งกำเนิด 2. Pathway ช่องทางผ่าน 3. Receptor ผู้รับสัมผัส
2.การควบคุมการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ประเภทกิจการหอพัก อาคารให้เช่า ห้องเช่า ห้องแบ่งเช่า หรือกิจการอื่นในทำนองเดียวกัน
คำนิยาม หอพัก หมายถึง พรบ.หอพัก 2507 ทั้งนี้ให้รวมถึงหอพักของสถาบันการศึกษาต่างๆด้วย กิจการอื่นในทำนองเดียวกัน หมายถึง อพาร์ทเม้นท์ อาคารชุด หรือสถานที่พักอาศัยให้เช่าที่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่น เป็นต้น อาคารชุดให้เช่า หมายถึง ตาม พรบ.อาคารชุด 2522 ที่มีลักษณะการประกอบกิจการแบบให้เช่าด้วย ห้องเช่า และห้องแบ่งเช่า หมายถึง ธุรกิจให้เช่าที่อยู่อาศัย ตามประกาศกระทรวงคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เรื่องให้ธุรกิจการให้เช่าที่อยู่อาศัยที่เรียกประกัน เป็นธุรกิจที่ควบคุมรายการในหลักฐานการรับเงิน 2549 สถานที่ที่จัดขึ้นสำหรับการให้เช่า เพื่อเป็นที่พักอาศัยโดยมีสถานที่ที่จัดแบ่งให้เช่า ตั้งแต่ 5 ห้องขึ้นไป
กระบวนการก่อสร้างและปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกิจการหอพักกระบวนการก่อสร้างและปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกิจการหอพัก ปรับพื้นที่/ตอกเสาเข็ม/ก่อโครงสร้างอาคาร/ระบบน้ำ สิ่งปฏิกูล 1.โรคระบบทางเดินอาหาร 2.เหตุรำคาญ 3.ได้รับบาดเจ็บ 4. ความปลอดภัย ฝุ่น, เสียงดัง สั่นสะเทือน อุบัติเหตุ ชุมชนก่อสร้าง ระยะก่อสร้าง 1.โรคระบบทางเดินอาหาร 2.โรคระบบทางเดินหายใจ 3. ความเครียด 4.ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน น้ำเสีย, ขยะ สิ่งปฏิกูล, กลิ่น อัคคีภัย, ลักขโมย ตู้น้ำดื่มที่ปนเปื้อน เหตุร้องเรียน เปิดให้บริการ
แนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยงแนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยง จัดให้มีผ้ากั้นหรืออุปกรณ์ใดๆที่สามารถป้องกันฝุ่นละอองที่จะเกิดกับชุมชนข้างเคียง การจัดการฝุ่น
แนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยงแนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยง การจัดการน้ำใช้และน้ำเสีย ล้างทำความสะอาดถังเก็บน้ำใช้หรือมีการระบายตะกอนก้นถังเก็บน้ำใช้ตามระยะเวลาที่กำหนด และมีการหมุนเวียนการใช้น้ำในบ่อหรือถังพักน้ำเป็นประจำ มีรางหรือท่อระบายน้ำ และบ่อพักน้ำที่มีขนาดเพียงพอก่อนที่จะระบายลงสู่ท่อระบายน้ำสาธารณะ และต้องมีการตรวจสอบเป็นประจำ เพื่อป้องกันการส่งกลิ่นเหม็นรบกวนผู้ที่อาศัยในบริเวณใกล้เคียง
แนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยงแนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยง การจัดการตู้บริการน้ำดื่ม กรณีที่มีการให้บริการน้ำดื่ม สำหรับผู้ใช้บริการ น้ำดื่มต้องสะอาด ปลอดภัยได้ตามมาตรฐานน้ำดื่ม ทั้งนี้ ลักษณะการนำมาดื่มต้องไม่ก่อให้เกิดความสกปรกหรือมีการปนเปื้อน
แนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยงแนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยง การจัดการขยะ มีภาชนะรองรับมูลฝอย และแยกประเภทมูลฝอย โดยภาชนะรองรับต้องเพียงพอกับปริมาณมูลฝอยจากห้องพักทั้งหมด และต้องทำจากวัสดุที่แข็งแรง ทำความสะอาดได้ง่าย มีฝาปิดมิดชิด สามารถป้องกันสัตว์ไม่ให้คุ้ยเขี่ย
แนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยงแนวทางการจัดการปัจจัยเสี่ยง ติดตั้งระบบไฟฉุกเฉิน มีแผนผังแสดงทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ หรือทางออกฉุกเฉิน สัญญาณเตือนภัยกรณีไฟไหม้ เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ ระบบคีย์การ์ด กล้องวงจรปิดบริเวณสถานที่จอดรถและแต่ละชั้นของสถานประกอบกิจการพร้อมทั้งจัดให้มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจำหอพัก มีระบบรักษาความปลอดภัย
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะก่อสร้าง
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะก่อสร้าง
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะก่อสร้าง
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะก่อสร้าง
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะประกอบกิจการ
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะประกอบกิจการ
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะประกอบกิจการ
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะประกอบกิจการ
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะประกอบกิจการ
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะประกอบกิจการ
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะประกอบกิจการ
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะประกอบกิจการ
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะประกอบกิจการ
มาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการมาตรการตรวจสอบสถานประกอบกิจการ ระยะประกอบกิจการ
ขอขอบคุณ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย โทรศัพท์ 02 590 4190 โทรสาร 02 590 4356