130 likes | 247 Views
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. การพัฒนาแหล่งน้ำ ระบบส่งน้ำ และระบายน้ำ ลุ่มน้ำน่าน ( จ.น่าน ). อ.ทุ่งช้าง. อ.เฉลิมพระเกียรติ. อ.สองแคว. อ.ท่าวังผา. อ.ปัว. อ.บ่อเกลือ. อ.เมือง. อ.สันติสุข. อ.บ้านหลวง.
E N D
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การพัฒนาแหล่งน้ำ ระบบส่งน้ำ และระบายน้ำ ลุ่มน้ำน่าน ( จ.น่าน )
อ.ทุ่งช้าง อ.เฉลิมพระเกียรติ อ.สองแคว อ.ท่าวังผา อ.ปัว อ.บ่อเกลือ อ.เมือง อ.สันติสุข อ.บ้านหลวง กิ่งอ.ภูเพียง อ.แม่จริม อ.เวียงสา อ.นาน้อย อ.นาหมื่น กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1.สภาพทั่วไปของลุ่มน้ำ - พื้นที่ลุ่มน้ำ 11,820 ตร.กม. • ประกอบด้วย 14 อำเภอ 1 กิ่ง อำเภอ • 99 ตำบล 877 หมู่บ้าน • จำนวนประชากรทั้งหมด 487,042 คน • 131,608 ครัวเรือน • ร้อยละ 85 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม - แยกเป็นลุ่มน้ำย่อย 9 ลุ่มน้ำ
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ น้ำยาวW น่านส่วนที่1 น่านส่วนที่2 น้ำยาวE สมุน ว้า สา น่านส่วนที่3 แหง 1.สภาพทั่วไปของลุ่มน้ำ - ลักษณะการแบ่งพื้นที่ลุ่มน้ำย่อย
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่มา :โครงการศึกษาเพื่อทำแผนหลักรองรับการพัฒนาแหล่งน้ำและปรับปรุงโครงการชลปรทาน สำหรับ แผน9
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พื้นที่ทำการเกษตรในเขตและนอกชลประทาน ที่มา :โครงการศึกษาเพื่อทำแผนหลักรองรับการพัฒนาแหล่งน้ำและปรับปรุงโครงการชลปรทาน สำหรับ แผน9
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ความต้องการใช้น้ำเฉลี่ยรายปีในปี พ.ศ. 2547 ที่มา :โครงการศึกษาเพื่อทำแผนหลักรองรับการพัฒนาแหล่งน้ำและปรับปรุงโครงการชลปรทาน สำหรับ แผน9
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คาดการณ์ความต้องการใช้น้ำปี พ.ศ. 2547 ปี พ.ศ. 2557 และปี พ.ศ. 2567
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2.การวิเคราะห์สมดุลน้ำ
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3.แผนงานการพัฒนาแหล่งน้ำ ระบบส่งน้ำและระบายน้ำ - การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำและอุทกภัย 1.ปรับปรุงระบบชลประทาน 2.จัดหาแหล่งน้ำใหม่และเพิ่มพื้นที่ชลประทาน 3.บรรเทาและป้องกันภัยจากน้ำ
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3.แผนงานการพัฒนาแหล่งน้ำ ระบบส่งน้ำและระบายน้ำ
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปริมาณน้ำเก็บกักและพื้นที่รับประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ (พ.ศ.2552 )
ผลตอบแทนจากการเพาะปลูกที่จะได้รับเพิ่มขึ้นหลังเสร็จสิ้นโครงการ (2552)
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สรุป 1. ปริมาณน้ำเก็บกักและน้ำใช้การได้ เพิ่มขึ้น 88.43 ล้าน.ม3. 2. พื้นที่รับประโยชน์เพิ่มขึ้น 30,850ไร่ 3. พื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น 21,850 ไร่ 4. รายรับจากการเพาะปลูกเพิ่มขึ้น 70.43 ล้านบาท/ปี 5. งบประมาณก่อสร้างโครงการทั้งสิ้น 932.02 ล้านบาท 6. ระยะเวลาดำเนินการโครงการ 2549-2552 7. B/C = 1.77