170 likes | 281 Views
MS SQLServer 7. เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th. การสร้างฐานข้อมูลโดยใช้ SQL Enterprise Manager ใน SQL Server 7.0. มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ . เข้าสู่ SQL Enterprise Manager ให้เลือกเซิร์ฟเวอร์ SQL แล้วคลิกเมาส์ที่เมนู คำสั่ง Databases
E N D
MS SQLServer 7 เสรี ชิโนดม seree@buu.ac.th
การสร้างฐานข้อมูลโดยใช้ SQL Enterprise Manager ในSQL Server 7.0 • มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ • .เข้าสู่ SQL Enterprise Manager ให้เลือกเซิร์ฟเวอร์ SQL แล้วคลิกเมาส์ที่เมนูคำสั่ง Databases • ให้คลิกที่เมาส์ที่เมนู New Database จะปรากฏหน้าต่างของ New Database ที่ช่อง Name พิมพ์ชื่อฐานข้อมูลลงไปแล้วคลิกเมาส์ที่ปุ่ม ปุ่ม OK
การใช้ SQL Enterprise Manager ลบฐานข้อมูล • การใช้ SQL Enterprise Manager ลบฐานข้อมูล 1. เข้าสู่ SQL Enterprise Manager ให้เลือกเซิร์ฟเวอร์ SQL แล้วคลิกเมาส์ที่เมนูคำสั่ง Databases 2. ให้คลิกที่ชื่อของฐานข้อมูลที่จะลบ แล้วคลิกเมาส์ที่เมนู Delete เพื่อลบฐานข้อมูล
The SQL Create Table Statement • คำสั่ง create table จะเป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับตารางในระบบฐานข้อมูล ซึ่งจะต้องใส่ชื่อตาราง ชื่อคอลัมน์ (field) ชนิดของคอลัมน์โดยสามารถใส่ได้หลายคอลัมน์ • รูปแบบคำสั่ง CREATE TABLE <table name> (<column name-1> <data type> [size][constraint] , <column name-2> <data type> [size][constraint] , ….. <column name-n> <data type> [size][constraint] );
CREATE TABLEเป็นคำสั่งที่ใช้ในการสร้างตาราง (เป็นคีย์เวิร์ด) • table nameเป็นชื่อของตารางที่จะสร้าง • column nameเป็นชื่อของคอลัมน์ภายในตาราง โดยจะเก็บข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไว้ และใช้เครื่องหมาย, (คอมม่า) ขั้นระหว่างคอลัมน์อื่นๆ • data typeเป็นประเภทชนิดของข้อมูล จะมีความแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย ขึ้นอยู่กับ ผู้ผลิตระบบฐานข้อมูลแต่ละบริษัท
ตัวอย่างการสร้างตารางตัวอย่างการสร้างตาราง CREATE TABLE LOGON ( LGID numeric identity, LGNAME varchar(20) not null, PASSWD varchar(20) not null, SEX varchar(10) not null, LGGROUP tinyint not null, COMMENT varchar(128) null constraint PK_LOGON primary key (LGID) )
การสร้างตารางด้วย SQL Enterprise Manager • เปิด SQL Enterprise Manager จะเข้าสู่หน้าต่างของ Server Manager ให้เลือกเซิร์ฟเวอร์ SQL แล้วคลิกเมาส์ที่โฟลเดอร์Database/DEMOASP/Table ตามลำดับ • คลิกเมาส์ปุ่มขวาที่โฟล์เดอร์ Tables แล้วเลือกคำสั่ง New Tableจะปรากฎ หน้าต่าง Manager Tables ที่ช่อง Column Name , Datatype , Length ให้พิมพ์ข้อความลงไปตามคอลัมน์
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตารางการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตาราง • รูปแบบ ALTER TABLE (database.[owner].] table_name [ADD { col_name column_properties [ column_constrains ] | [ [,]table_constraint] } [ , { next_col_name | name_table_constraint} ] … ]
ตัวอย่างการเพิ่มคอลัมน์ตัวอย่างการเพิ่มคอลัมน์ Alter table logon add firstname char(20) null เป็นการเพิ่มคอลัมน์ firstname มีความกว้าง 20 ตัวอักษร และกำหนดให้ข้อมูลเป็น NULL คือ มีค่าว่าง พร้อมใส่ข้อมูลลงไป (การเพิ่มคอลัมน์ใหม่ไม่สามารถกำหนดเป็น NOT NULL ได้ )
การแก้ไขคอลัมน์ • รูปแบบ ALTER TABLE <table_name> MODIFY (<column_name> data type [ <SIZE> ] [table_constraint]);
การเพิ่ม Constraint • รูปแบบ ALTER TABLE <table_name> ADD CONSTRAINT < constraint_name> constraint_type (column_name);
การยกเลิก Constraint • รูปแบบ ALTER TABLE <table_name> DROP CONSTRAINT < constraint_name> [CASCADE] ; CASAODE หมายความว่า เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง constraint ใดๆ ของตารางที่เกี่ยวข้องก็จะเปลี่ยนไปด้วย
การยกเลิก Constraint ชั่วคราว • เป็นการแก้ไขข้อมูลชั่วคราว แต่ไม่ต้องการที่จะลบค่า Constraint ทิ้ง เพราะอาจจะเรียกใช้ Constraint นั้นภายหลัง • รูปแบบ ALTER TABLE < table_name > DISABLE CONSTRAINT < constraint_name >;
การเรียกใช้ Constraint ที่ถูกยกเลิกชั่วคราว • รูปแบบ ALTER TABLE <table_name> ENABLE CONSTRAINT < constraint_name>;
การเปลี่ยนชื่อตาราง • เป็นการเปลี่ยนเฉพาะชื่อของตารางเท่านั้น แต่โครงสร้างและข้อมูลที่เก็บไว้ จะยังคงเหมือนเดิม • รูปแบบ RENAME < Old_table_name> TO < New_table_name> ;
การลบตาราง • รูปแบบ DROP TABLE <table_name> [ CASCADE CONSTRAINTS ]; CASCADE CONSTRAINTS หมายความว่า ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทำการลบ constraint ต่างๆที่มีการอ้างอิงถึงตารางทิ้งไปให้ด้วยทั้งหมด