270 likes | 581 Views
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงานและ การประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549 และ(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 255 2. กองคลัง กรมสุขภาพจิต. คชจ.อบรม. 1. นิยาม “ฝึกอบรม”. ปี 2549. ปี 2552. การฝึกอบรม ประเภท ข เกินกึ่งหนึ่ง เป็น ทั่วไป : ปฏิบัติงาน, ชำนาญงาน, อาวุโส
E N D
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงานและ การประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549 และ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 กองคลัง กรมสุขภาพจิต คชจ.อบรม 1
นิยาม “ฝึกอบรม” ปี 2549 ปี 2552 การฝึกอบรม ประเภท ข เกินกึ่งหนึ่งเป็น ทั่วไป : ปฏิบัติงาน, ชำนาญงาน, อาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ, ชำนาญการ ชำนาญ การพิเศษ อำนวยการ : ต้น การฝึกอบรม ประเภท ก เกินกึ่งหนึ่ง เป็น ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ, ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น, สูง การฝึกอบรมระดับต้น เกินกึ่งหนึ่ง (C 1-2) การฝึกอบรมระดับกลาง เกินกึ่งหนึ่ง(C 3-8) การฝึกอบรมระดับสูง เกินกึ่งหนึ่ง(C 9 ขึ้นไป) กองคลัง กรมสุขภาพจิต คชจ.อบรม 2
อัตราค่าสมนาคุณวิทยากรอัตราค่าสมนาคุณวิทยากร ฝึกอบรมระดับต้น บุคลากรของรัฐ ไม่เกิน ช.ม.ละ 600 บาท บุคคลภายนอก ไม่เกิน ช.ม.ล่ะ 1,200 บาท การฝึกอบรม ประเภท ข ฝึกอบรมระดับกลาง ฝึกอบรมบุคคลภายนอก บุคลากรของรัฐ ไม่เกิน ช.ม. ละ 800 บาท บุคคลภายนอก ไม่เกิน ช.ม. ละ1,600 บาท การฝึกอบรมประเภท ก ฝึกอบรมระดับสูง การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรเกินกว่าอัตราที่กำหนดให้อยู่ในดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ กองคลัง กรมสุขภาพจิต คชจ.อบรม 3
ค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม พ.ศ. 2549และ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 สาระสำคัญ การอบรม การประชุมวิชาการ หรือเชิงปฏิบัติการ การสัมมนาทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การบรรยายพิเศษ การศึกษา การดูงาน การฝึกงาน ที่มีโครงการ/หลักสูตร ช่วงเวลาจัด ที่แน่นอน วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาบุคคลหรือเพิ่มประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงาน โดยไม่มีการรับปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม พ.ศ.2549และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552 (ต่อ) บุคคลที่จะเบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ประธานในพิธีเปิด หรือ พิธีปิดการฝึกอบรม แขกผู้มีเกียรติและผู้ติดตาม เจ้าหน้าที่ วิทยากร ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ผู้สังเกตการณ์
ค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม พ.ศ.2549 และ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552 (ต่อ) การเบิกจ่ายค่าพาหนะเดินทางไป - กลับ ระหว่างที่อยู่ ที่พัก หรือที่ปฏิบัติราชการไปยังสถานที่จัดฝึกอบรม ของบุคคลข้างต้น อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้า ส่วนราชการผู้จัดฝึกอบรม หรือต้นสังกัด
ค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม พ.ศ.2549 และ (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2552 (ต่อ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมให้ส่วนราชการผู้จัดการฝึกอบรม ใช้ดุลพินิจเบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงโดยคำนึงถึงความจำเป็นเหมาะสม และประหยัด เพื่อประโยชน์ของทางราชการยกเว้น 4รายการต้องเบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์ และ อัตราตามที่กำหนด 1. ค่าสมนาคุณวิทยากร 2. ค่าอาหาร 3. ค่าเช่าที่พัก 4. ค่าพาหนะ
ค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม พ.ศ. 2549 และ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 (ต่อ) ระดับการฝึกอบรม ค่าสมนาคุณวิทยากร
ค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม พ.ศ. 2549 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 (ต่อ) การนับชั่วโมงการฝึกอบรมจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร • ไม่หักเวลาที่พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม • ชั่วโมงการฝึกอบรมต้องมีกำหนดเวลาไม่น้อยกว่า 50 นาที • กรณีไม่ถึง 50 นาที แต่ไม่น้อยกว่า 25 นาที ให้เบิกได้ • กึ่งหนึ่ง (30 นาที)
ค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม พ.ศ. 2549 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 (ต่อ) หลักเกณฑ์การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร บรรยาย 1 คน อภิปรายหรือสัมมนาเป็นคณะ 5 คน 2 คน แบ่งกลุ่มฝึกภาคปฏิบัติ หรือแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม พ.ศ. 2549และ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552(ต่อ) ค่าอาหาร (บาท : วัน : คน) จัดครบทุกมื้อ คือ จัดเช้า / กลางวัน / เย็น
ค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม พ.ศ. 2549 และ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 (ต่อ) ค่าเช่าที่พัก (บาท : วัน : คน)
ค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม พ.ศ. 2549 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 (ต่อ) • การเบิกค่าลงทะเบียน • ให้เบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริง ในอัตราที่ส่วนราชการหรือหน่วยงานผู้จัดการฝึกอบรมเรียกเก็บ การจ้างจัดฝึกอบรม ให้ดำเนินได้ตามหลักเกณฑ์ และอัตราค่าใช้จ่ายตามที่ระเบียบนี้กำหนด โดยใช้ใบเสร็จรับเงินของผู้รับจ้างเป็นหลักฐานการเบิกจ่าย
ค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม พ.ศ. 2549 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 (ต่อ) หมายเหตุ การเบิกค่าใช้จ่ายนอกเหนือจากที่กำหนด ให้อยู่ในดุลยพินิจ ของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ โดยคำนึงถึงความจำเป็น เหมาะสม และประหยัด ภายในวงเงินงบประมาณที่ได้รับ
ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน พ.ศ.2549และ(ฉบับที่ 2)พ.ศ.2552 การจ้างจัดงาน ให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ เจ้าของงบประมาณ ใช้ใบเสร็จรับเงินของผู้รับจ้างในการ จัดงานเป็นหลักฐานการจ่าย วิธีการจัดจ้างทำตามระเบียบพัสดุ
ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน(ต่อ)ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน(ต่อ) วันสถาปนาของส่วนราชการ จัดงานตามแผนงานโครงการ ตามภารกิจปกติ ตามนโยบายของทางราชการ จัดงานนิทรรศการ จัดงานแถลงข่าว จัดประกวดหรือแข่งขัน จัดกิจกรรมต่าง ๆ หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ พิจารณาอนุมัติการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น
ค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการ ว.102 ลว.29 มิ.ย 48 “สามารถเบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสมและประหยัดเพื่อประโยชน์ของทางราชการเป็นสำคัญ ภายในวงเงินงบประมาณที่ได้รับ ” ได้แก่ 1) ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่ม 2) ค่าอาหาร 3) ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็น เช่น 3.1 ค่าเช่าห้องประชุม 3.2 ค่าดอกไม้ตกแต่งสถานที่ประชุม กรณี ซื้อ/จ้าง/เช่า ให้ปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ
ค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการ(ต่อ)ค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการ(ต่อ) หลักฐานประกอบการเบิกจ่าย 1) หนังสือเชิญประชุม 2) วาระการประชุม 3) หนังสือขออนุมัติจัดประชุม (ถ้ามี) 4) รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม หมายเหตุ ให้เจ้าหน้าที่ที่จัดประชุมเป็นผู้รับรองการจัด ประชุมและจำนวนผู้เข้าร่วมประชุม
ค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการ(ต่อ)ค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการ(ต่อ) ตัวอย่างขอรับรองว่าได้มีการจัดประชุม ในวันที่ 1 มีนาคม 2554 และมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 50 คน (ลงชื่อ)..............................ผู้จัดประชุม (.............................)
หลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายตามมาตรการประหยัดของ สพฐ.(ตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 24 พ.ย.52) เพื่อถือปฏิบัติ • หลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม และค่าใช้จ่ายในการจัดงานตามคำสั่ง สพฐ. ที่ 14/2550 สั่ง ณ วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2550 (หนังสือ สพฐ. ที่ ศธ 04002/1262ลงวันที่ 8 มกราคม 2550) และแก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินตามมาตรการประหยัดค่าใช้จ่าย ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 (หนังสือ สพฐ. ที่ ศธ 04002/14 ลงวันที่ 14 มกราคม 2553)
ก. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม • 1. อัตราค่าเช่าที่พัก ค่าอาหาร ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม และค่าสมนาคุณวิทยากร สำหรับการจัด • ฝึกอบรมให้เบิกจ่ายได้ตามอัตราที่กำหนด ดังนี้ • 1.1 อัตราค่าเช่าที่พักอัตราบาท: คน: คืน - จัดให้พัก 2 คน ต่อห้อง
1.2 อัตราค่าอาหาร *** แก้ไขปรับปรุง***อัตรานี้ให้ใช้เบิกจ่ายในทุกระดับการฝึกอบรมโดยคำนึงถึงความเหมาะสม ความประหยัด และวงเงินที่ได้รับ
-การจ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงในการฝึกอบรม ให้ถือปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยอนุโลม กรณี ค่าเช่าที่พักได้รวมอาหารเช้าไว้แล้ว ให้ถือว่าผู้จัดฝึกอบรมได้จัดอาหารให้แล้วเช่นกัน- การเบิกค่าพาหนะเดินทาง ให้ถือปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการฯ ยกเว้น ค่าพาหนะในการเดินทางระหว่างวันที่เข้ารับการฝึกอบรม ให้เบิกค่พาหนะประจำทาง และการเบิกจ่ายค่าพาหนะโดยเครื่องบินให้เบิกจ่ายตามเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินตามมาตรประหยัดค่าใช้จ่ายที่ได้อ้างถึงตามมติข้างต้น
- ค่ากระเป๋าใส่เอกสาร สำหรับแจกให้กับผู้เข้ารับการฝึกอบรม มาตรการ สพฐ. กำหนดให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินใบละ 150 บาท
หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการ ตามหนังสือ สพฐ. ที่ ศธ 04002/ว 1034 ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2551 และแก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์ การเบิกจ่ายเงินตามมาตรการประหยัดค่าใช้จ่าย ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 (หนังสือ สพฐ. ที่ ศธ 04002/14 ลงวันที่ 14 มกราคม 2553)
*ซึ่งอัตรานี้ให้เบิกจ่ายสำหรับการจัดประชุมราชการทั้งในสถานที่ราชการและสถานที่เอกชน แต่ขอให้พิจารณาจัดประชุมราชการภายในสถานที่ราชการเป็นลำดับแรก