350 likes | 821 Views
สำนักบริหารงานบุคคล. พ.อ.ศักดิ์เสมา พงศ์กลัด. ผอ.ส่วนบริหารจัดการบุคคล สบค.กอ.รมน. แนวความคิดในการปรับปรุงอัตรากำลัง และการบริหาร งานบุคคล ของ กอ.รมน. หัวข้อการบรรยาย. โครงสร้างการจัดส่วนงานของ กอ.รมน. อัตรากำลังของ กอ.รมน. ปัญหาด้านบุคลากรจากโครงสร้าง ฯ และ อัตรา ฯ
E N D
พ.อ.ศักดิ์เสมา พงศ์กลัด ผอ.ส่วนบริหารจัดการบุคคล สบค.กอ.รมน.
แนวความคิดในการปรับปรุงอัตรากำลัง และการบริหาร งานบุคคล ของ กอ.รมน.
หัวข้อการบรรยาย • โครงสร้างการจัดส่วนงานของ กอ.รมน. • อัตรากำลังของ กอ.รมน. • ปัญหาด้านบุคลากรจากโครงสร้าง ฯ และ อัตรา ฯ • แนวคิดในการแก้ไขปัญหาด้านบุคลากรฯ • อื่น ๆ Internal Security Operations Command
ที่มาของ กอ.รมน. ในปัจจุบัน • พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร • พ.ศ.๒๕๕๑ (จัดตั้ง/อำนาจหน้าที่/กลไก/เครื่องมือ) • คำสั่ง นร. ที่ ๑๗๙/๒๕๕๒ ลง ๒๗ ก.ค.๕๒ • ทั้งนี้ เป็นไปตามมติ ครม. เมื่อ ๒๓ มิ.ย.๕๒ • (โครงสร้าง/ส่วนงาน/อัตรากำลัง)
ที่มาของ กอ.รมน. ในปัจจุบัน • คำสั่ง กอ.รมน. ที่ ๒๓๖/๒๕๕๒ ลง ๑๑ ส.ค.๕๒ • (โครงสร้าง/ส่วนงาน/อำนาจหน้าที่/อัตรากำลัง) • คำสั่ง กอ.รมน. ที่ ๒๓๗/๒๕๕๒ ลง ๑๑ ส.ค.๕๒ • (อัตรากำลังช่วยราชการ/อำนาจหน้าที่/การ บคช.) • คำสั่ง กอ.รมน. ที่ ๕๒/๒๕๕๓ ลง ๒๘ ม.ค.๕๓ • (อัตรากำลังประจำ/อำนาจหน้าที่/การ บคช.)
ส่วนบริหาร ส่วนอำนวยการ ส่วนประสานงาน ส่วนปฎิบัติงาน
อัตรากำลังของ กอ.รมน. อัตรากำลังของ กอ.รมน. ช่วยราชการ ประจำ ลูกจ้างชั่วคราว /พนักงานราชการ ตำรวจ ทหาร พลเรือน พลเรือน ๑๓๘ ราย ๗๗๗ อัตรา ๒๐๐ อัตรา ครม. ยังไม่อนุมัติกรอบอัตรา ไม่รวม ศปป. และ กอ.รมน.ภาค / จว.
สภาพปัญหาด้านงานบุคคลสภาพปัญหาด้านงานบุคคล อัตรากำลังช่วยราชการ การขาดระบบการจัดหาบุคลากรสนับสนุนการปฏิบัติงานของ กอ.รมน. อย่างเป็นรูปธรรม แหล่งที่มาของบุคลากรมาจากหลายส่วนราชการ (พลเรือน ตำรวจ ทหาร) ทบ. สนับสนุนกำลังพลมากที่สุด นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ. ฯ แล้ว (รอง ผอ.รมน., ลธ.รมน., ผอ.รมน.ภาค ๑ – ๔) ตำแหน่งสำคัญที่จัดจาก ทบ. ได้แก่ รอง ลธ.รมน. (รอง เสธ.ทบ.), ผอ.สำนัก (ปช.ทบ./ผช.เสธ.ทบ.), ผช.ผอ.สำนัก (รอง จก.ฝสธ.) ข้าราชการในตำแหน่งอื่น ๆ (นอกเหนือจากตำแหน่งสำคัญ) ได้รับการสนับสนุนจากส่วนราชการต้นสังกัดตามความจำเป็น
สภาพปัญหาด้านงานบุคคลสภาพปัญหาด้านงานบุคคล อัตรากำลังช่วยราชการ การขาดความชัดเจนเกี่ยวกับ ความเจริญก้าวหน้าตามแนวทางรับราชการ การพิจารณาต่าง ๆ ล้วนแล้วแต่ ขึ้นอยู่กับส่วนราชการต้นสังกัดทั้งสิ้น ปัจจุบัน คงมีเพียงแนวทางดำเนินการเพื่อให้ต้นสังกัดพิจารณา (เฉพาะ สป.กห., บก.ทท., ทบ., ทร., ทอ. และ ตร.) ทบ. เป็นส่วนราชการที่มีความเป็นรูปธรรมมากที่สุด แต่ก็ไม่เป็นจำนวนหรือสัดส่วนที่สามารถกำหนดได้อย่างแน่นอน การดำเนินการที่สำคัญ คือ การพิจารณาเลื่อนขึ้นครองตำแหน่งอัตราชั้นยศสูงขึ้น และการให้โควตา จ.ส.อ. เลื่อนฐานะเป็นนายทหารสัญญาบัตร ประจำปี
สภาพปัญหาด้านงานบุคคลสภาพปัญหาด้านงานบุคคล อัตรากำลังประจำ แนวคิดเริ่มแรกไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง ทั้งในปัจจุบัน และอนาคต ตำแหน่งในประเภทและระดับต่างๆ ยังไม่เพียงพอ และสอดรับกับแนวทางรับราชการ (มี ๒๐๐ อัตรา บรรจุจริง ๘๐ อัตรา) ตำแหน่งประเภทบริหาร (สูง) มี ๑ อัตรา (รอง ลธ.รมน.) ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ไม่มี ตำแหน่งประเภทวิชาการ ไม่มีระดับทรงคุณวุฒิ ขาดกลไกการบริหารงานบุคคลในลักษณะของ อ.ก.พ.กระทรวง/กรม เพราะ กอ.รมน. ไม่มีสถานะเป็น กระทรวง/กรม (ตาม พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม) ครม. ให้ความเห็นชอบให้จัดตั้ง ก.พ.กอ.รมน. เมื่อ ๑๒ ก.พ.๕๖ มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับ อ.ก.พ.กระทรวง/กรม และกำหนดผู้มีอำนาจบรรจุแต่งตั้ง
ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง ตามประเภท และ ระดับตำแหน่ง บริหาร อำนวยการ ทั่วไป วิชาการ ระดับสูง ทรงคุณวุฒิ ระดับต้น ระดับสูง เชี่ยวชาญ ระดับต้น ทักษะพิเศษ ชำนาญการพิเศษ นรม. โดยความเห็นชอบของ ครม. ตามที่ ผอ.รมน. เสนอ และโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้ง อาวุโส ชำนาญการ รอง ผอ.รมน. โดยความเห็นชอบของ ผอ.รมน. ชำนาญงาน ปฏิบัติการ ลธ.รมน. โดยความเห็นชอบของ ผอ.รมน. (อำนวยการ ) หรือ รอง ผอ.รมน.(วิชาการและทั่วไป) ปฏิบัติงาน รอง ลธ.รมน. (สายงานกำลังพล)
สภาพปัญหาด้านงานบุคคลสภาพปัญหาด้านงานบุคคล อัตราลูกจ้าง/พนักงานราชการ ไม่มีสถานะที่ชัดเจนในการปฏิบัติงาน เนื่องจาก ครม. ยังมิได้กำหนดกรอบอัตรา /ไม่สามารถบริหารจัดการได้เต็มที่ ขาดหลักประกันในการดำรงชีพ ภายหลังสิ้นสุดสัญญาจ้างเมื่ออายุครบ ๖๐ ปี เมื่อสิ้นสุดสัญญาจ้างในลักษณะเกษียณอายุ ๖๐ ปี หรือสูญเสียอื่นๆ ไม่สามารถจ้างทดแทนได้ ขาดความต่อเนื่องในการปฎิบัติงาน ไม่เชื่อมโยงกับกรอบอัตราพนักงานราชการ อันเนื่องมาจากลูกจ้างชั่วคราวนี้ จ้างเป็นกรณีพิเศษจากภัยคุกคามคอม ฯ ปี ๒๕ เกิดผลกระทบต่อ กอ.รมน. ส่วนกลาง และ กอ.รมน.ภาค ซึ่งมีลูกจ้าง ฯ ปฏิบัติงานอยู่
แนวคิดแก้ไขปัญหา อัตราช่วยราชการ สร้างระบบการจัดหาบุคลากรที่เป็นรูปธรรม สร้างความเข้าใจ/ใช้อำนาจหน้าที่ กับหน่วยต้นสังกัด สร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ทบทวนความจำเป็นของอัตราส่วนประสานงาน เสนอร่างกฎหมายลูกเกี่ยวกับการบริหารราชการ
แนวคิดแก้ไขปัญหา อัตราประจำ สร้างความรู้ความเข้าใจในระบบข้าราชการพลเรือน จัดเตรียมและใช้กลไกการบริหารงานบุคคล ทบทวนโครงสร้างอัตรากำลังที่เหมาะสม สร้างแนวทางรับราชการที่ชัดเจน กำหนดมาตรการควบคุมที่เป็นรูปธรรม
ปัญหา ลูกจ้างชั่วคราว เร่งรัดเสนอ ครม. ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากำลัง สร้างหลักประกันในการดำรงชีพหลังเกษียณ ขอให้ ครม. กำหนดกรอบอัตราพนักงานราชการจากกรอบอัตราลูกจ้างฯ/ จ้างแทนเมื่อลูกจ้าง ฯ สูญเสีย พิจารณาครอบคลุม กอ.รมน.ภาค ด้วย
สำนักบริหารงานบุคคล หนทางปฏิบัติด้านอัตรากำลังของคณะทำงาน ฯ รองรับการปรับปรุงโครงสร้างการจัด/อัตรากำลัง กอ.รมน. ห/ป ที่ ๑รองรับกรณีปรับสัดส่วนอัตรากำลังช่วยราชการกับอัตรา กำลังประจำ ให้มีสัดส่วนที่เหมาะสมในแต่ละห้วงเวลา ห/ป ที่ ๒รองรับกรณีปรับอัตรากำลัง ซึ่งมีทั้งอัตรากำลังช่วยราชการ และอัตรากำลังประจำ เป็น อัตรากำลังประจำ (พตท.) ทั้งหมด ห/ป ที่ ๓ รองรับกรณีปรับเปลี่ยนรูปแบบ และสถานะของ กอ.รมน.จากเดิม ส่วนราชการรูปแบบเฉพาะ เป็น ทบวงเทียบเท่ากระทรวง หรือ ทบวงในสำนักนายกรัฐมนตรี ในการบริหารราชการส่วนกลาง
สำนักบริหารงานบุคคล หนทางปฏิบัติที่ ๑ อัตรากำลัง/วิธีปฏิบัติราชการ/การบริหารงาน ครม. ต้องกำหนดใหม่ ตาม พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคง ฯ ม.๕ วรรคสอง เช่นเดียวกับการจัดทำอัตรา/การบริหารงาน กอ.รมน. ในปัจจุบัน • ระยะที่ ๒(ตั้งแต่ ต.ค.๕๗ – ก.ย.๕๙) • อัตราช่วยราชการ จากเดิมในระยะที่ ๑ (๖๐% ) เป็น ประมาณ ๓๐๐ อัตรา(๓๐% ) • อัตราประจำ จากเดิมในระยะที่ ๑ (๔๐% ) เป็นประมาณ ๗๐๐ อัตรา (๗๐ %) • ดำเนินการร่วมกับ ก.พ.กอ.รมน. • ระยะที่ ๑(ตั้งแต่บัดนี้ – ก.ย.๕๗) • อัตราช่วยราชการ จากเดิม ๗๗๗ อัตรา (๘๐% ) เป็น ประมาณ ๖๐๐ อัตรา (๖๐% ) • อัตราประจำ จากเดิม ๒๐๐ อัตรา (๒๐% ) เป็นประมาณ ๔๐๐ อัตรา (๔๐ %) • ดำเนินการร่วมกับ ก.พ.กอ.รมน.
สำนักบริหารงานบุคคล หนทางปฏิบัติที่ ๒ อัตรากำลัง/วิธีปฏิบัติราชการ/การบริหารงาน ครม. ต้องกำหนดใหม่ ตาม พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคง ฯ ม.๕ วรรคสอง การได้มาของบุคลากร? นรม. ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล สั่งให้ข้าราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่ง มาปฏิบัติราชการสำนักนายก ฯ โดยให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรือไม่ก็ได้ตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฯ ม.๑๑ (๔)หรืออาจตีความเพิ่มเติมตามความใน ม.๑๑ (๕) การบริหารงานบุคคล? แยกตามประเภทข้าราชการ ดังนี้ ๑.ข้าราชการทหาร ยึดตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการทหาร พ.ศ.๒๕๒๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๒.ข้าราชการตำรวจ ยึดตาม พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ ๓.ข้าราชการพลเรือน ยึดตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑
สำนักบริหารงานบุคคล หนทางปฏิบัติที่ ๓ ต้องดำเนินการตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฯ และหากจะแบ่งส่วนราชการนอกเหนือจากที่กำหนดให้เหมาะสม เช่น สำนักงานตำรวจแห่งชาติ หรือ สำนักงานอัยการสูงสุด แล้ว ต้องแก้ไข พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฯ ต้องแก้ไข พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ฯ ไม่ว่าจะจัดตั้งเป็นทบวงเทียบเท่ากระทรวง หรือ ทบวงในสำนักนายก ฯ/กระทรวง หรือ ส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายก ฯ/กระทรวง/ทบวง
สำนักบริหารงานบุคคล หนทางปฏิบัติที่ ๓ (ต่อ) ต้องแก้ไข พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ฯ หรือ ยกเลิก พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ฯ แล้วยกร่าง พ.ร.บ.ใหม่ ที่ประกอบไปด้วย การจัดระเบียบราชการของส่วนราชการ+ระเบียบข้าราชการของส่วนราชการ ตลอดจนลักษณะอื่น ๆ ที่จำเป็น (ลักษณะเดียวกับ พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗)