480 likes | 812 Views
ILLNESS MANAGEMENT RECOVERY. สุชาดา สาครเสถียร ที่ปรึกษาโรงพยาบาลศรีธัญญา. องค์ประกอบ 5 ประการของ Evidence Based Practice. Assertive Community Treatment (ACT) Integrated Dual Disorders Treatment (IDDT) Family Psycho education (FPE) Supported Employment (SE)
E N D
ILLNESS MANAGEMENT RECOVERY สุชาดา สาครเสถียร ที่ปรึกษาโรงพยาบาลศรีธัญญา
องค์ประกอบ 5 ประการของ Evidence Based Practice • Assertive Community Treatment (ACT) • Integrated Dual Disorders Treatment (IDDT) • Family Psycho education (FPE) • Supported Employment (SE) • Illness Management and Recovery (IMR)
การจัดการกับความเจ็บป่วยและการคืนสู่สุขภาวะการจัดการกับความเจ็บป่วยและการคืนสู่สุขภาวะ • การจัดการกับความเจ็บป่วยและการคืนสู่สุขภาวะ คือ โปรแกรมที่ช่วยให้บุคคลสามารถวางจุดมุ่งหมายที่มีความหมายสำหรับตนเอง แสวงหาข้อมูลและพัฒนาทักษะที่จะเผชิญกับอาการเจ็บป่วยทางจิต และเกิดความก้าวหน้าไปสู่การคืนสู่สุขภาวะด้วยตนเอง
Illness Management and Recovery Program : So what then? • A structured program • Curriculum based approach • Help patients to acquire skills and knowledge • Assist patients to understand recovery • Assist patients to achieve their own, personal recovery
หัวข้อเนื้อหาการนำเสนอหัวข้อเนื้อหาการนำเสนอ • การจัดการกับความเจ็บป่วยและการคืนสู่สุขภาวะ • ความสำคัญของการคืนสู่สุขภาวะ • คุณค่าสำคัญของการจัดการกับความเจ็บป่วย • กลยุทธที่เป็นกุญแจสำคัญ 8 ประการของการจัดการกับความเจ็บป่วย • การโน้มน้าวผู้ใช้บริการและการปฐมนิเทศ • การฝึกอบรมทักษะ 10 อย่าง • การทำกลุ่มเรื่องการจัดการกับความเจ็บป่วย • เราจะก้าวต่อไปอย่างไร
องค์ประกอบสำคัญของการจัดการกับความเจ็บป่วยและการคืนสู่สุขภาวะองค์ประกอบสำคัญของการจัดการกับความเจ็บป่วยและการคืนสู่สุขภาวะ • การทำกิจกรรมทุกสัปดาห์โดยบุคลากรที่เชี่ยวชาญ เป็นเวลา 6 – 12 เดือน • มีเอกสารจำนวน 10 ชุดที่มีข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ได้และกลวิธีต่างๆ • คู่มือสำหรับผู้ปฏิบัติ ที่ใช้เป็นแนวทางในการสอนผู้ใช้บริการเกี่ยวกับโรคจิตเวชและช่วยให้สามารถทำตามกลวิธีได้
ความสำคัญของการคืนสู่สุขภาวะความสำคัญของการคืนสู่สุขภาวะ • การคืนสู่สุขภาวะจะเกี่ยวข้องกับการพัฒนา ความหมายและความต้องการที่มีผลจากความเจ็บป่วยทางจิตอยู่ด้วยขณะที่มีการดำเนินชีวิตไปข้างหน้า
ลักษณะสำคัญของการคืนสู่สุขภาวะลักษณะสำคัญของการคืนสู่สุขภาวะ • จะต้องกำหนดและดำเนินการจนสำเร็จโดยผู้ใช้บริการ • จะเป็นขบวนการหรือผลลัพธ์สุดท้าย • จะแตกต่างจากการฟื้นฟูสมรรถภาพ • เกี่ยวข้องกับความสำเร็จส่วนบุคคลและทางสังคมในด้านที่ผู้ใช้บริการคิดว่ามีความสำคัญต่อเขา • เป็นประสบการณ์ตรงของมนุษย์ที่เป็นสากลรวมเรื่องความหวัง ความมั่นใจในตนเอง ความคาดหวัง ความเป็นอยู่ที่ดีและการมองโลกในแง่ดี • การมีชีวิตอยู่เป็นสิ่งที่มีคุณค่ามากกว่าสิ่งใด
การคืนสู่สุขภาวะเกี่ยวข้องกับแรงจูงใจการคืนสู่สุขภาวะเกี่ยวข้องกับแรงจูงใจ • พลังภายในที่ผลักดันให้บุคคลนั้นเกิดการปฏิบัติตัว • การจัดการกับความเจ็บป่วยและการคืนสู่สุขภาวะจะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อผู้ใช้บริการได้รับการกระตุนให้เกิดแรงจูงใจที่จะลงมือกระทำ • วิธีการที่จะทำให้เกิดแรงจูงใจ 1. ความหวังนั้นเพื่อใครสักคนหนึ่ง 2. การสนับสนุนจากคนรอบข้าง 3. สัมพันธภาพกับบุคลากรผู้ให้บริการ 4. แรงกระตุ้นจากภายใน 5. ความลึกลับ ?
กิจกรรมที่ 1 • แบ่งผู้เข้าอบรมเป็น 4 กลุ่ม • กลุ่มที่ ๑ , ๓ อภิปรายเรื่อง วิธีสร้างแรงจูงใจให้ผู้ใช้บริการสนใจเข้ารับความรู้การจัดการกับความเจ็บป่วยและการคืนสู่สุขภาวะ • กลุ่มที่ ๒, ๔ วิธีสร้างแรงจูงใจให้ผู้ให้บริการสนใจเข้าความรู้การจัดการกับความเจ็บป่วยและการคืนสู่สุขภาวะ • สรุปผลการอภิปรายและนำเสนอต่อกลุ่มใหญ่
ความหวังเป็นกุญแจสำคัญความหวังเป็นกุญแจสำคัญ • การทำเรื่องนี้นานๆไม่สามารถคาดเดาได้ • การไปสู่จุดหมายปลายทางด้วยตนเองมีอิทธิพลต่อพื้นฐานของความหวังและการมองโลกในแง่ดีในอนาคต • การมีผู้เชื่อถือเราเป็นพลังอย่างหนึ่งที่เราจะคำนึงถึงว่าเราทำเพื่อผู้อื่นด้วย
อย่าให้ผู้ใช้บริการประสบความล้มเหลวจากการให้บริการ บริการจะทำให้เขารู้สึกไม่ประสบความสำเร็จ • ผู้รับบริการควรได้รับการสนับสนุนอย่างไม่มีเงื่อนไขจากการเข้าร่วมโครงการ เขาควรได้รับการเข้าเริ่มโครงการใหม่ได้โดยง่ายและอยู่ในหลักการของการประสบล้มเหลวอย่างปลอดภัย
ค • วิธีในการจัดการกับความเจ็บป่วยแตกต่างจากวิธีการที่ฉันให้บริการอยู่ขณะนี้อย่างไร
กุญแจสำคัญของกลยุทธ8 ประการในการทำงานเรื่องการจัดการกับความเจ็บป่วยทางจิต
กุญแจดอกที่ 1 การตั้งจุดมุ่งหมายโดยใช้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางมุ่งไปสู่การคืนสู่สุขภาวะ • เน้นไปที่บริบทการดำรงชีวิตของผู้ใช้บริการมากกว่าที่จะมุ่งเน้นไปที่อาการ • ความเข้มแข็ง กับ ปัญหา • ความรับผิดชอบร่วมกันในการวางแผนและทำตามจุดมุ่งหมายมากกว่าการทำตามการรักษา • การประเมินอย่างสม่ำเสมอและมีการปรับแผน
กุญแจดอกที่ 1 หลีกเลี่ยงจากรูปแบบทางการแพทย์ ตัวอย่างจุดมุ่งหมายที่เน้นโรค *กินยา * การลดเสียงที่ได้ยิน * หยุดตอบสนองต่อความหลงผิด * การดูแลที่พักอาศัย * การบริหารจัดการเรื่องการเงิน
กุญแจดอกที่ 1 ตัวอย่างจุดมุ่งหมายที่ห่างไกลจากรูปแบบทางอาการ • เพื่อสร้างสัมพันธภาพอย่างใกล้ชิดกับเพื่อน 2 คนที่ฉันชื่นชอบ • เพื่อปรับปรุงสภาพภายในที่พักอาศัยให้น่าอยู่เพื่อเพื่อนสามารถมาเยี่ยมได้ที่บ้าน • เพื่อเพิ่มบทบาทในการดูแลร้านค้ามากขึ้น • เพื่อการเป็นเจ้าของรถยนต์เพื่อจะได้ไปไต่เขาได้ • เพื่อไปชมภาพยนตร์เดือนละครั้ง
กุญแจดอกที่ 2 ความรู้พื้นฐานที่ดีของเรื่องสุขภาพจิต • สาเหตุและการดำเนินของโรค • อาการและการวินิจฉัย • ยา • การคืนสู่สุขภาวะ • แหล่งสนับสนุนในชุมชน
กุญแจดอกที่ 3 การควบคุมกำกับ –การตอบสนองต่ออาการที่เห็นชัดเจนและพฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ • กระตุ้นการตระหนักรู้ ฉันสามารถทำได้ • เลือกทั้งสิ่งที่ทำให้เขาดีขึ้นและแย่ลง • แผนการป้องกันการเป็นซ้ำ • แผนการมีสุขภาวะที่ดี • ถึงแม้ว่าฉันจะไม่ใช่สาเหตุ แต่ฉันก็สามารถทำได้ • ยอมรับความรับผิดชอบร่วมกันและตัดสินใจร่วมกัน
กุญแจดอกที่ 4 แนวทางการใช้ความเข้มแข็งเป็นฐาน • ผู้ป่วยจิตเวชรุนแรงและอาการคงที่สามารถเรียนรู้ พัฒนา และ เปลี่ยนแปลงได้ • จุดเน้นของขบวนการช่วยเหลืออยู่ที่จุดแข็ง วามสนใจ และความสามารถ ไม่ใช่เน้น ที่ความบกพร่องหรือพยาธิสภาพ
กุญแจดอกที่ 5 กลวิธีการสอนเพื่อให้ความรู้ • การสอนแบบมีปฏิสัมพันธ์ ไม่ใช่การบรรยาย • ถ ามด้วยคำถามปลายเปิดเพื่อทบทวนความรู้และตรวจสอบความเข้าใจ • ใช้วิธีการหลากหลายในการนำเสนอเอกสารประกอบ - การสรุปประเด็นสำคัญ - การยกตัวอย่าง - การสลับกันอ่านออกเสียงดังๆ - ให้อ่านเอง • ภาษาที่ใช้ในเอกสารควรเป็นภาษาง่ายๆเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหา
กุญแจดอกที่ 6 กลยุทธการสอนที่ทำให้เกิดแรงจูงใจ • ช่วยให้ผู้ใช้บริการเห็นว่าสิ่งที่เรียนรู้และทักษะเชื่อมโยงกับการบรรลุจุดมุ่งหมายที่วางไว้อย่างไร • ถ่ายทอดให้เห็นว่า ความหวัง ความเชื่อและ ความมั่นใจ ว่าเขาสามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตามความพอใจ และบรรลุจุดมุ่งหมาย • ช่วยผู้ใช้บริการสำรวจค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ในสถานะที่เป็นอยู่ และในสถานะที่เกิดการเปลี่ยนแปลง
กุญแจดอกที่ 7 • กลวิธีในการสอน • Reinforcement • Shaping • Modeling • Role playing • Cognitive restructuring
Teaching Methods: Cognitive Behavioral Strategies Reinforcement: • Positive: utilized to increase positive behaviors (i.e. increase praise, rewards, self esteem) • Negative: utilized to decrease negative behaviors (i.e. decrease stress, anxiety, ect) • Practitioner's role: praise, enthusiasm, positive reinforcement, monitoring achievement of personal goals, encourage utilization of newly acquired skills
Teaching Methods: Shaping • This entails successive behaviors/steps to obtain new behaviors/goals • Practitioners needs to provide positive reinforcement, encouragement and feedback while also realizing that patients learn at their own rate • Practitioners can shape patient’s attitude by acknowledging their efforts, struggles and accomplishments in their own IM & R program
\Teaching Methods: Modeling • Practitioners demonstrate desirable and appropriate skills for patients to observe • Practitioners can enhance learning by explaining the rationale and basis for the skill/behavior before its demonstration • Patients can then provide feedback on behavior while also role modeling newly acquired skill • What patients observe practitioners completing on a daily basis are ALSO examples of role modeling.
Teaching Methods: • Role Playing and Practice • Practitioners should support acquisition of new skills inside and outside of the group • After completion, patients should be asked about experiences, feelings, obstacles, ect • Enthusiastically encourage patients to use skills throughout the day and track their experiences
Teaching Methods: • Homework • Assist in acquisition of skills • Provides individuals with hope and confidence that they will be able to learn and complete new skill • Can be modified based on patient’s mental and cognitive status. • Can include other peers in the program.
Teaching Methods: Cognitive Restructuring • How patients feel about themselves and how the process information influences their understanding of the world and how they respond to events. • When one’s cognitive processes are inaccurate, restructuring can assist one to view the world, process information and understand information in a more accurate manner.
Teaching Methods: • Cognitive Restructuring • Practitioners can participate in cognitive restructuring by: • Teaching patients accurate facts about mental illness • Exp. Mental illness is influences by environmental, biological and social factors and NOT a due to one’s lack of self will and/or weakness.
Teaching Methods: • Behavioral Tailoring • Helps build strategies to incorporate medications into one’s daily routine • Practitioners can help by providing prompts, reinforcement, rationale for taking medications, benefits of taking medication • Practitioners'’ Techniques: • Identify daily routine • Identify daily activity that will help/prompt individuals to remember to take medication. • Role model the plan • Assist patient to practice the plan implementation
Teaching Methods: • Relapse Prevention • Create a plan that identifies signs, symptoms and steps to respond to signs • Patients can learn and identify “triggers” • Include support persons in plan • The practitioner can explain relapse, benefits of relapse prevention, techniques to avoid relapse. • Write down plan and role play the plan
กุญแจดอกที่ 8 เน้นลำดับขั้นของการเปลี่ยนแปลงในการประเมินอย่างต่อเนื่อง • ก่อนตัดสินใจเข้าร่วม กิจกรรม การออกไปในชุมชน การตระหนักรู้ และการเพิ่มความหวัง • ระยะพิจารณาตรึกตรอง กิจกรรม: การพิจารณาทบทวนข้อดีข้อเสีย , การช่วยสร้างจินตนาการถึงชีวิตที่ดีกว่า
ระยะเตรียมการ กิจกรรม การรวบรวมข้อมูลทางเลือกอื่นๆ • ระยะดำเนินการ กิจกรรม การปรับวิถีการดำเนินชีวิต ภายใต้ คำแนะนำปรึกษาจากบุคลากร(ไม่ใช่ ผู้เชี่ยวชาญ) • การผดุงรักษา กิจกรรม รักษาความสมดุลที่เกิดขึ้นใหม่ การ ควบคุมกำกับเพื่อต่อต้านพฤติกรรมอุปนิสัย เก่าๆ
เอกสารประกอบการอบรม เอกสารพื้นฐานที่เป็นแบบฝึกหัด • เอกสารความรู้แจกผู้เข้าอบรม พร้อมด้วยใบงานและแบบฟอร์มต่างๆ • คู่ มือสำหรับผู้สอน ในแต่ละหัวข้อที่ระบุไว้ในเอกสารแจก • วิดีทัศน์แนะนำโปรแกรมและแสดงสาธิตประกอบการสอน
Role of Practitioner: The benefits of the program • Give practical clinical tools to work with • Creates a partnerships with patients • Brings evidence based practice into recovery • Better understanding of patients, their struggles, their lives • More recovery focused vs. paternalistic
The patients: the benefits • Yes, this is what they have really said • More confidence • Able to try new activities • Become involved in more meaningful activities • Able to manage their own illness better • Feel more hopeful • Increase vocational activities
Structure • Individual teaching: Allows more individual teaching and dedicated attention to one’s individualized needs • Group teaching: Allows patients to receive feedback, form relationships, gain support and identify role models • Combination: Allows core material to be taught to individuals while group sessions provide time and opportunity for support and feedback.
Time • Time range of group can vary from 45-60 minutes. • However, individuals with shorter attention span may only be able to maintain attention for 30 minutes. • If necessary, shorter, more frequent sessions can be completed.
องค์ประกอบที่เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ของการจัดการกับความเจ็บป่วยองค์ประกอบที่เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ของการจัดการกับความเจ็บป่วย • การให้ความรู้เกี่ยวกับโรคจิตและการรักษา • การฝึกเพื่อป้องกันการกลับมาป่วยซ้ำ • พฤติกรรมที่เฉพาะบุคคลในเรื่องการทานยา • การฝึกทักษะการจัดการ • การฝึกทักษะทางสังคม • กลยุทธการมีความผิดปกติที่เกิดร่วม
10 Topic Areas 1.Recovery Strategies 2. Practical Facts about Mental Illness (schizophrenia, bipolar disorder, major depression) 3. The Stress-Vulnerability Model and Treatment Strategies 4. Building Social Support 5. Using Medication Effectively
10 Topic Areas (cont.) • Alcohol and Drug Use • Reducing relapses 8. Coping with stress 9. Coping with problems and symptoms 10. Getting your needs met in the mental health system