1 / 9

What is the optimum stocking rate ?

What is the optimum stocking rate ?. การจัดการแปลงพืชอาหารสัตว์ที่ดี ควรให้มีอัตราสัตว์แทะเล็ม พอดีกับปริมาณของพืชอาหารสัตว์ที่มีอยู่ ทั้งในช่วงฤดูฝน และฤดูแล้ง อัตราสัตว์แทะเล็มที่เหมาะสม เรียกว่า optimum stocking rate

Download Presentation

What is the optimum stocking rate ?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. What is the optimum stocking rate? การจัดการแปลงพืชอาหารสัตว์ที่ดี ควรให้มีอัตราสัตว์แทะเล็ม พอดีกับปริมาณของพืชอาหารสัตว์ที่มีอยู่ ทั้งในช่วงฤดูฝน และฤดูแล้ง อัตราสัตว์แทะเล็มที่เหมาะสม เรียกว่า optimum stocking rate อัตราสัตว์แทะเล็ม จะใช้หน่วยเป็น animal unit (A.U.)แทนคำว่า “ ตัว ”

  2. หน่วย 1 A.U. = มาตรฐานโคโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 300 กิโลกรัม แม่โค + ลูกโค 1 ตัว = 1.20 A.U. โคพ่อพันธุ์น้ำหนักมากกว่า 300 กิโลกรัม = 1.25 A.U. โคอายุ 1 ปี = 0.50 A.U. แกะพันธุ์ยุโรป 6 ตัว = 1.00 A.U.

  3. การคำนวณoptimum stocking rate พื้นที่ 10 ไร่ ปลูกหญ้ารูซี่ ในช่วงฤดูฝน ถ้าใช้ประโยชน์โดยการปล่อยให้ สัตว์แทะเล็ม จะต้องใช้อัตราสัตว์ กี่ หน่วยจึงจะเหมาะสม การคำนวณโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้ - ผลผลิตของหญ้ารูซี่ - ระยะเวลาที่ปล่อยแทะเล็ม (ตั้งแต่ มิถุนายน-พฤศจิกายน) - ความต้องการอาหารของสัตว์ (น้ำหนักแห้ง) คิดเป็น 3 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัวสัตว์ - 1 A.U. = มาตรฐานโคโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 300 กิโลกรัม

  4. 1.ผลผลิต(น้ำหนักแห้ง)ของหญ้ารูซี่ ในสภาพการแทะเล็ม ตั้งแต่เดือนมิ.ย.– พ.ย. มีผลผลิตสะสม1.175ตันต่อไร่ ดังนั้น พื้นที่แปลงหญ้า10 ไร่ จะได้ผลผลิตสะสมเท่ากับ11.75ตัน (1.175 X 10) หรือ 11,750 กิโลกรัม 2.ระยะเวลาที่ปล่อยแทะเล็มโจทย์ระบุตั้งแต่ ตั้งแต่เดือนมิ.ย.– พ.ย. รวมเป็นระยะเวลา 183 วัน

  5. 3.การใช้อาหารในแต่ละวัน และอัตราสัตว์ที่ปล่อย(optimum stocking rate) ก. การใช้อาหารในแต่ละวัน ระยะเวลาที่แทะเล็มในแปลง 183 วัน ใช้อาหารหยาบ 11,750กิโลกรัม ““1““1 x 11,750 183 = 64.208 กก. ดังนั้น ปริมาณอาหารหยาบ 64.208 กก. นี้ จะต้องใช้อัตราสัตว์แทะเล็ม กี่ A.U. ?ต่อวัน

  6. ข. อัตราสัตว์ที่ปล่อยแทะเล็ม (optimum stocking rate)วิธีที่ 1เมื่อ - 1 A.U. = มาตรฐานโคโตเต็มที่ มีน้ำหนักประมาณ300 กิโลกรัม - ความต้องการอาหารของสัตว์ (น้ำหนักแห้ง) คิดเป็น 3 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัวสัตว์ ดังนั้น โคน้ำหนัก 100 กิโลกรัม ต้องการอาหาร 3 กิโลกรัม โคโตเต็มที่ น้ำหนัก 300 กิโลกรัม(1 A.U.) “300X 3 100 = 9กิโลกรัม

  7. ใน 1 วัน จะใช้อาหารหยาบแห้ง 9กิโลกรัม เลี้ยงโคที่โตเต็มที่ น้ำหนัก 300 กิโลกรัม หรืออาหารหยาบแห้ง 9กิโลกรัม ใช้อัตราสัตว์ 1 A.U.(Animal Unit) เมื่ออาหารหยาบแห้ง 9กิโลกรัม ใช้อัตราสัตว์ 1 A.U. “64.208“64.208X 1 9 = 7.134 A.U. หรือน้ำหนักสัตว์ทั้งหมด2,140.2 กิโลกรัม(7.134X 300) ดังนั้นจำนวนโคที่ปล่อยทั้งหมด น้ำหนักรวมกันแล้วต้องไม่ เกิน 2,140.2 กิโลกรัมต่อวัน

  8. ข. อัตราสัตว์ที่ปล่อยแทะเล็ม(optimum stocking rate)วิธีที่ 2 ระยะเวลา 1 วัน สัตว์ 1 A.U. ต้องการอาหารแห้ง 9 กก. ระยะเวลา 183 วัน --------------”------------- 9 x 183 =1,647 kg. อาหารแห้ง 1,647 kg. ระยะเวลา183 วัน ใช้เลี้ยงสัตว์ได้ 1 A.U. ----------- 11,750 --------” ----------- 11,750 1,647 = 7.13 A.U.

More Related