80 likes | 309 Views
How to promote the private repo markets in Thailand. ผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายตลาดการเงินและบริหารเงินสำรองธนาคารแห่งประเทศไทย. รูปแบบของตลาด Repo ในปัจจุบัน. สิ่งที่ ธปท. ดำเนินการ. ขยายขอบเขตการอนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์ประกอบธุรกรรมซื้อคืนภาคเอกชน
E N D
How to promote the private repo markets in Thailand ผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ ผู้อำนวยการอาวุโสฝ่ายตลาดการเงินและบริหารเงินสำรองธนาคารแห่งประเทศไทย
รูปแบบของตลาด Repo ในปัจจุบัน
สิ่งที่ ธปท. ดำเนินการ • ขยายขอบเขตการอนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์ประกอบธุรกรรมซื้อคืนภาคเอกชน • ประสานงานกับสรรพากรเพื่อทบทวนอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ • สนับสนุน TSD ในการรวมศูนย์รับฝากและโอนย้ายระบบชำระราคาและส่งมอบตราสารหนี้ภาครัฐ และการจัดให้มี Collateral Management Unit และระบบการให้ยืมหลักทรัพย์ • สนับสนุนให้ PDs เริ่มเซ็นสัญญา GMRA กับผู้เล่นในตลาด • การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธุรกรรมซื้อคืน (Private repo) • การปรับกรอบ OMO และแผนปิดตลาดซื้อคืน ธปท.
ขอบเขตการอนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์ประกอบธุรกรรมซื้อคืนภาคเอกชนขอบเขตการอนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์ประกอบธุรกรรมซื้อคืนภาคเอกชน ธนาคารพาณิชย์สามารถทำธุรกรรม Private repo ได้ ดังต่อไปนี้ Baht Foreign currency cross-currency บุคคลธรรมดานิติบุคคลที่อยู่ในไทย ให้กู้ สถาบันการเงินในไทยที่มี Fx license สถาบันการเงินในไทยที่มี Fx license Non-resident นิติบุคคลที่อยู่ในไทยกองทุนสถาบันการเงินที่ออก Baht Bond ในไทย กู้ พันธบัตรรัฐบาล ตั๋วเงินคลัง พันธบัตร ธปท. พันธบัตรรัฐวิสากิจและหุ้นกู้ที่รัฐบาลค้ำประกันพันธบัตรอื่นๆ ที่ ธปท. ให้ความเห็นชอบ Baht Bond ที่ ก.คลังอนุญาตหุ้นกู้ที่มีเครดิต BBB Eligible securities ตราสารหนี้ที่เป็นเงินบาท พันธบัตรรัฐบาลไทยพันธบัตรรัฐบาลต่างประเทศหุ้นกู้ที่มีเครดิต BBB ตราสารหนี้ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายละเอียดตามหนังสือเวียนที่ ฝนส.(21) ว. 89/2549 ลงวันที่ 20 เม.ย. 2549
มาตรการด้านภาษีเพื่อสนับสนุนตลาดการเงินมาตรการด้านภาษีเพื่อสนับสนุนตลาดการเงิน ครม.อนุมัติหลักการร่าง พรฎ. ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรารัษฎากร (ฉบับที่...) พ.ศ.... เพื่อปรับลดอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะสำหรับธุรกรรมทางการเงิน จากร้อยละ 3.0 เหลือ ร้อยละ 0.01 (gross basis) ขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณาของ สนง.กฤษฎีกา ธุรกรรมทางการเงิน ได้แก่ 1) ธุรกรรมกู้ยืมระหว่างสถาบันการเงิน 2) ธุรกรรมการซื้อขายตราสารหนี้ 3) ธุรกรรมการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ 4) ธุรกรรมอนุพันธ์ทางการเงิน
สนับสนุน TSD ในการดำเนินการดังนี้ บริการด้านการบริหารหลักประกัน (Collateral Management Unit) และ ระบบการให้ยืมหลักทรัพย์ (Bond Lending unit) โครงการรวมศูนย์รับฝากและโอนย้ายระบบชำระราคาและส่งมอบตราสารหนี้ภาครัฐ เริ่มดำเนินการ พ.ค. 2549 จะขยายขอบเขตไปยังตราสารหนี้ภาคเอกชนและเชื่อมโยงกับระบบงานของต่างประเทศในระยะต่อไป ให้บริการงานด้าน Back office เช่น การส่งมอบและชำระราคา การเก็บรักษาหลักประกัน การเปลี่ยนหลักประกัน การ Rollover และ การ Terminate deal เพื่อลดต้นทุนด้าน Operations TSD เริ่มให้บริการ Collateral Management Unit เมื่อ 15 พ.ค 2549 และ Bond Lending Unit เมื่อ 30 ต.ค. 2549
การให้ความรู้แก่ผู้ร่วมตลาดการให้ความรู้แก่ผู้ร่วมตลาด การผลักดันให้มีการเซ็นสัญญา GMRAGlobal Master Repurchase Agreement • สนับสนุนให้ผู้ร่วมตลาดลงนามในสัญญา GMRA • ให้ความสนับสนุนสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยในการเป็นตัวกลาง • จัดทำแนวปฏิบัติสำหรับธุรกรรมซื้อคืนภาคเอกชน เพื่อใช้เป็นมาตรฐานอ้างอิงในการจัดทำ Annex I (Supplemental Terms and Conditions) ประกอบสัญญา GMRA • สนับสนุนการจัดทำสัญญามาตรฐานภาษาไทยสำหรับการทำธุรกรรมกับคู่ค้าที่เป็นนักลงทุนสถาบัน เช่น บลจ. และบริษัทเอกชนทั่วไป (ส่วนธุรกรรมระหว่างธนาคารยังคงใช้ GMRA เพราะสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและรองรับการขยายขอบเขตการทำธุรกรรมได้ดีกว่า) • ผลักดันการกำหนดมาตรฐานเพื่อลดอุปสรรคในการเจรจาสัญญา เช่น กำหนดเวลาในการชำระราคาและส่งมอบแต่ละขั้นตอน ปี 2549 ธปท. จัดสัมมนาเกี่ยวกับธุรกรรม private repo จำนวน 2 ครั้ง ครอบคลุมหัวข้อลักษณะทั่วไปของธุรกรรม ประโยชน์ ภาษี บัญชี กฎหมาย เกณฑ์ของทางการ แนวปฏิบัติของ ThaiBMA การบริหารหลักประกันของ TSD สัญญา GMRA และวิธีปฏิบัติในการทำธุรกรรมตามสัญญา ปี 2550 ธปท. มีแผนจะจัดสัมมนาเกี่ยวกับธูรกรรม Private repo ให้กับผู้บริหารระดับสูงและเจ้าหน้าที่ของสถาบันการเงินต่างๆ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และกระตุ้นให้เกิดการเตรียมพร้อมต่อการปิดตลาดซื้อคืน ธปท.
Standing facilities(interest rate corridor) Bank B OMO Bank A PDs BOT Bank C Standing facilities(interest rate corridor) การปรับกรอบ OMO และแผนปิดตลาดซื้อคืน ธปท. • แผนปิดตลาดซื้อคืนที่ ธปท. ภายในปี 2550 • ตลาดซื้อคืน ธปท. ไม่เอื้อต่อการพัฒนาตลาดการเงินเท่าที่ควร • ธปท. เป็นตัวกลางในการทำ ธุรกรรมทั้งหมดของตลาด • ตลาดปรับสภาพคล่องกับ ธปท. โดยตรง แทนที่จะปรับระหว่างกันเอง • หลักปฏิบัติบางประการไม่เป็นสากล ไม่ส่งเสริมกลไกตลาด เช่น การไม่มีการโอนหลักประกันจริง ทำให้ไม่สามารถนำไปทำธุรกรรมต่อ การปรับกรอบการดำเนินนโยบายการเงิน เปลี่ยนเครื่องมือในการส่งสัญญาณนโยบายการเงินจากการใช้อัตราดอกเบี้ยซื้อคืน 14 วันเป็น 1 วัน สร้างกลไกการจำกัดขอบเขตความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยตลาดที่อัตราดอกเบี้ยนโยบาย ± 0.5 (interest rate corridor) ปรับช่วงเวลาในการดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง (reserve maintenance period) * เริ่มดำเนินการ 17 ม.ค. 2550