280 likes | 887 Views
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว. องค์ประกอบ ผู้บริหาร รพ.สต. Milestone Maternal and Child Health. EWEC ANC/WCC/LR /ศูนย์เด็กฯ คุณภาพ Model child development Passport of Health สำรวจพัฒนาการและ พฤติกรรม. โครงการ. ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรัก (Model Child Development)
E N D
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว องค์ประกอบ ผู้บริหาร รพ.สต.
Milestone Maternal and Child Health • EWEC • ANC/WCC/LR/ศูนย์เด็กฯ • คุณภาพ • Model child development • Passport of Health • สำรวจพัฒนาการและ • พฤติกรรม โครงการ • ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรัก • (Model Child Development) • CHCT (ฝากครรภ์คู่) • HAART for all • วิจัยเชิงปฏิบัติการระบบ ดูแลสตรีตั้งครรภ์แนวใหม่ • วิจัยเชิงปฏิบัติการ คลินิกเด็กดีคุณภาพ • สำรวจพัฒนาการเด็ก Denver II • แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์งานอนามัยแม่และเด็กในอปท. • โมเดลชุมชนต้นแบบเพื่อพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก • คลินิก 3 วัย เด็กไทยฉลาด • Book start • โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวเพื่อพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กไทย • การพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในพื้นที่ทรงงาน • ธาลัสซีเมีย/เอดส์/TSH พ.ศ. 2555 2556 2550 2554 2552 2553 2551
ผลลัพธ์ • ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 25 ต่อพันการเกิดมีชีพ • ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 7 หรือลดลงจากฐานข้อมูลเดิม ร้อยละ 0.5 ต่อปี • เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 50 หรือเพิ่มขึ้นจากฐานข้อมูลเดิม ร้อยละ 2.5 ต่อปี • เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว ชมรม ANC WBC การนำองค์กร -สถานที่ -วัสดุ อุปกรณ์ -สัดส่วนผู้ให้ : ผู้รับ -การบริการ -การให้ความรู้ -ระบบการส่งต่อ -การจัดกิจกรรม -ข้อมูล-สถานการณ์ -การมีส่วนร่วม -สถานที่และขั้นตอน การให้บริการ -การให้บริการ -ความรู้ -ข้อมูล-สถานการณ์ -การมีส่วนร่วมของ ชุมชน - มีชมรมสายใยรักฯ - รพ.สต.สนับสนุน - สมาชิกมีการสื่อสาร - สมาชิกได้รับ คำแนะนำ - สมาชิก/ภาคี มีส่วนร่วม • นโยบาย • พัฒนาบุคลากร • วิเคราะห์ข้อมูล • การมีส่วนร่วม • ของชุมชน
องค์ประกอบของมาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว มาตรฐาน สัมภาษณ์ จนท. รพ.สต.สายใยรักฯ สังเกตการณ์ สัมภาษณ์ ผู้รับบริการ ผลลัพธ์
ประเด็นผู้บริหาร 1. นโยบาย 1.1 มีนโยบายในการดำเนินงานและมีคณะกรรมการ / คณะทำงานที่มีการจัดระบบบริการที่ได้มาตรฐานคุณภาพ ตามกระบวนการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว มีนโยบายโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ครอบคลุม ประเด็น - การพัฒนาคุณภาพบริการแม่และเด็ก - ชุมชนมีส่วนร่วม - ผลสัมฤทธ์ของงาน (ขอดูเอกสารนโยบาย/รายงานการ ประชุม) เป็นลายลักษณ์อักษร และให้นำมาแสดงให้ผู้ประเมินดู
ประเด็นผู้บริหาร 1.2 แจ้งนโยบายโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ให้บุคลากร หน่วยงานทราบโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง สุ่มถามเจ้าหน้าที่ฯ ผู้ให้บริการ (จากANC, WCC แผนกละ 1-2 คน) ถึงนโยบายโรงพยาบาลสายใยรักแห่ง ครอบครัว จากแบบสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ 1.3 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ/คณะทำงานเพื่อพัฒนางาน ตามเป้าหมาย โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ขอเอกสารคำสั่ง / รายงานการประชุมฯ แต่ละครั้ง
ประเด็นผู้บริหาร 1.4 ไม่มีโปสเตอร์หรือสิ่งอื่นๆที่สนับสนุนการใช้อาหาร ทดแทนนมแม่ แบบตรวจสอบเอกสารและสังเกตการณ์ 1.5 มีการจัดระบบบริการคุณภาพแผนก ANC และ WBC มี Flow chart บริการ ANC, WBC ขอดู CPG / ขั้นตอน / แนวทางการบริการแต่ละแผนก และการนำมาใช้
ประเด็นผู้บริหาร 1.6 มีระบบเครือข่ายในการดูแล กำกับ ติดตามมารดาและทารกขอดูทะเบียนrefer /สรุปการติดตาม /การวิเคราะห์ข้อมูลการส่งต่อ/แนวทางการแก้ปัญหา และการส่งต่อในทุกระดับ 1.7 สนับสนุนให้มีคลินิกนมแม่ใน รพ.สต. 1.7.1 มีคลินิกนมแม่ใน รพ.สต. ที่สามารถเข้าถึงง่าย 1.7.2 สามารถคัดกรองและช่วยเหลือเบื้องต้น เกี่ยวกับ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ 1.7.3 มีทะเบียนการให้บริการในคลินิกนมแม่
ประเด็นผู้บริหาร 2. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 2.1 มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการปรับปรุงคุณภาพบริการ รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว ขอกำหนดการอบรม แผนพัฒนาบุคคล และรายงานผลการ สรุปการอบรม แผนและหลักสูตรระดับต่างๆ ** อย่างน้อยต้องมีการอบรมเรื่องการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 20 ชั่วโมง 1 คน (มิสนมแม่) และมีการอบรมเกี่ยวกับ อนามัยแม่และเด็ก สำหรับผู้ปฏิบัติงานทุกคน (อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง)
ประเด็นผู้บริหาร 2.2 มีบุคลากรที่สามารถให้การปรึกษางานอนามัยแม่และเด็ก (Basic Csg) มีบุคลากรที่ผ่านการอบรม Basic Csg
ประเด็นผู้บริหาร 3. ข้อมูลและสถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก 3.1 เก็บข้อมูลและประชุมเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์เกี่ยวกับ งานอนามัยแม่และเด็กในพื้นที่รับผิดชอบ มีเอกสาร หลักฐานสถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก ที่เป็น ปัจจุบัน และครบถ้วน 3.2 วิเคราะห์สถานการณ์หาสาเหตุ วางแผนปรับปรุงแก้ไข และนำเสนอต่อผู้บริหาร รพ.สต./ระดับ CUP/ระดับจังหวัด อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง มีข้อมูลอนามัยแม่และเด็ก, รายงานการแก้ไขปัญหาของ รพ.สต. มีรายงานการประชุม MCH board/คปสอ.
ประเด็นผู้บริหาร 4. การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน 4.1 เอกสารหลักฐาน เช่น รายงานการประชุมการมีส่วนร่วม จากชุมชนและภาคีเครือข่าย 4.2 มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์/แผนการแก้ไขอนามัย แม่และเด็ก 4.3 ชุมชนมีการใช้มาตรการทางสังคมในการเฝ้าระวัง คุ้มครอง ด้านสุขภาพแม่และเด็ก เช่น การฝากครรภ์ทันทีเมื่อรู้ว่า ตั้งครรภ์ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่, หมู่บ้านไม่มีการจำหน่าย หรือแจกตัวอย่างนมผสมสำหรับทารก, เล่านิทานให้ลูกฟัง 4.4 ท้องถิ่นให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานด้าน แม่และเด็ก 4.5 การมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายในการแก้ปัญหาในพื้นที่ เช่น ศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน ฯลฯ
ประเด็นผู้บริหาร 2. ผลลัพธ์สถานะสุขภาพแม่และเด็ก -ขอดูรายงานสถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กของ รพ.สต. ปีก่อนหน้าประเมิน 1 ปี และปีปัจจุบัน พร้อมทั้งสอบถามปัจจัย แห่งความสำเร็จ สาเหตุของปัญหา แผนในการแก้ไขปัญหา และแนวทางในการพัฒนาระบบการให้บริการ โดยมีการ เปรียบเทียบข้อมูลย้อนหลังว่ามีแนวโน้มลดลงหรือเพิ่มขึ้นไม่ - ข้อมูลให้แยกเป็นผู้รับบริการภายในเขตพื้นที่ตำบล / นอกเขต พื้นที่ตำบล
ประเด็นผู้บริหาร ผลลัพธ์สถานะสุขภาพแม่และเด็ก 1. Early ANC ก่อนหรือเท่ากับ 12 week ร้อยละ 60 2. เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 50 หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.5 ต่อปี (จากฐานข้อมูลปีที่ผ่านมา) 3. เด็กมีพัฒนาการสมวัย อย่างน้อยร้อยละ 85 (อนามัย 55) 4. เด็ก 0-5 ปี มีส่วนสูงระดับดี และรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70 5. เด็ก 3 ปี มีฟันน้ำนมผุ ไม่เกินร้อยละ 57 6. เด็กอายุ 1 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 7. เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการล่าช้าทุกคน ได้รับการส่งต่อ เพื่อแก้ไขพัฒนาการ
1 หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 wk ร้อยละ 60 2 เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนร้อยละ 50 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 ต่อปี (จากฐานข้อมูลปีที่ผ่านมา) 3 เด็กมีพัฒนาการสมวัยอย่างน้อย ร้อยละ 85 (อนามัย 55) ผลลัพธ์
นโยบาย รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว 1 ข้อมูลและสถานการณ์ MCH ของ รพ.สต. 2 การพัฒนาองค์ความรู้/ทักษะเรื่องนมแม่ 3 การถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ผู้รับบริการ 4 สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ (มิสนมแม่ รพ.สต.ละ 1 คน)
สัมภาษณ์ผู้รับบริการ สัมภาษณ์ผู้รับบริการ หญิงตั้งครรภ์ 5 คน -ความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ วิตามินเสริมธาตุเหล็ก เกลือไอโอดีน การรับทราบผลเลือด และภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ฯลฯ มารดาเด็กปฐมวัย 10 คน -ความรู้เรื่องการประเมินภาวะโภชนาการ/พัฒนาการตามวัย/อาหารตามวัย/วัคซีน และการป้องกันอุบัติเหตุ ฯลฯ
สังเกตการณ์ มีการประกาศนโยบาย รพ.สต.สายใยรักฯ ไม่อนุญาตให้แจกชุดของขวัญ อาหารทดแทนนมแม่ แก่หญิงตั้งครรภ์ ไม่มีโปสเตอร์หรือสิ่งสนับสนุน การให้อาหารทดแทนนมแม่/ขวดนม ไม่รับบริจาคอาหาร ทดแทนนมแม่ รพ.สต.สายใยรักฯ มีเอกสารความรู้เรื่องนมแม่(ประโยชน์, ดูดเร็ว, rooming in ท่า, ดูดนมแม่ทุกครั้งที่ต้องการ, กินนมแม่อย่างเดียว, มีน้ำนมแม่พอ) การแจ้งแหล่งขอความช่วยเหลือ เมื่อมีปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ส่งผลให้กรมอนามัย ศูนย์อนามัย ประเมินรับรอง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ประเมินระดับอำเภอ โรงพยาบาลชุมชน ประเมินตนเอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กระบวนการประเมิน
โอกาสพัฒนา รพ.สต. ขยายผล รพ.สต. ต้นแบบ กรมอนามัย รพช. สสจ. ศูนย์อนามัย ขยายผล รพ.สต.