660 likes | 829 Views
การจัดการที่ยั่งยืนด้านการเงิน. เป้าหมายของการจัดการที่ยั่งยืน คือ อะไร ?. 2. เจ้าของ. 3. เจ้าหนี้. 1. กำไร. 5. พนักงาน. 6. สังคม. 4. ลูกค้า. สูญเสีย. : ทรัพยากรสูญเสียโดยเปล่าประโยชน์ : เกิดหนี้สินโดยไม่จำเป็น. ลักษณะของธุรกิจที่ยั่งยืน. สภาพคล่องดี ลูกค้าพอใจ.
E N D
การจัดการที่ยั่งยืนด้านการเงินการจัดการที่ยั่งยืนด้านการเงิน
เป้าหมายของการจัดการที่ยั่งยืนคืออะไร?เป้าหมายของการจัดการที่ยั่งยืนคืออะไร? 2. เจ้าของ 3. เจ้าหนี้ 1. กำไร 5. พนักงาน 6. สังคม 4. ลูกค้า
สูญเสีย : ทรัพยากรสูญเสียโดยเปล่าประโยชน์ : เกิดหนี้สินโดยไม่จำเป็น ลักษณะของธุรกิจที่ยั่งยืน • สภาพคล่องดี • ลูกค้าพอใจ • ฐานะการเงินมั่นคง • ผลการดำเนินงานมีกำไรสูง การทำให้มั่นคงและกำไรสูง • รายได้เพิ่มตามเป้าหมาย • สูญเสียน้อย
ผลดีการมีข้อมูลทางการการเงิน-บัญชีผลดีการมีข้อมูลทางการการเงิน-บัญชี • ระบบที่ดี เกิดการควบคุมและวิธีการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้มั่นใจ ป้องกันการฉ้อโกงและความเสียหาย ลดความผิดพลาด • มีรายงานการเงินที่ไว้วางใจได้ โปร่งใส • มีข้อมูลการเงินที่น่าเชื่อถือ • บริหารงาน เคารพต่อกฎหมาย
ผลร้ายที่ไม่มีข้อมูลทางการเงิน-บัญชีผลร้ายที่ไม่มีข้อมูลทางการเงิน-บัญชี • ไม่ทราบผลการดำเนินงาน และฐานะของกิจการที่แท้จริง • จัดการเงินทุนหมุนเวียนไม่ถูกต้อง • ตั้งราคาขายผิดไป ต้นทุนสูงกว่าราคาขาย • สินค้าขาดทุนดึงสินค้าที่มีกำไร • ไม่มีพื้นฐานที่จะประเมินข้อมูล(ทางการเงิน)เพื่อวางแผนในอนาคต
องค์ประกอบของข้อมูลการเงินองค์ประกอบของข้อมูลการเงิน 1.สินทรัพย์ ASSETS 2.หนี้สิน LIABILITIES 3.ส่วนทุน/ CAPITAL หรือ เจ้าของ OWNERS’ EQUITY 4.รายได้ REVENUES กำไร GAIN 5.ค่าใช้จ่าย EXPENSES ขาดทุน LOSS
เมื่อเริ่มต้นทำธุรกิจ จะต้องพิจารณาว่าควรลงทุนเท่าใดดี • ต้องเป็นการลงทุนที่ • จำเป็น • เหมาะสม • คุ้มค่าและ • ประหยัด
ตอนเริ่มกิจการควร จัดหา สินทรัพย์(Assets) ที่จำเป็น ได้แก่ • เงินสด • สินค้า • ที่ดิน • อาคาร • เครื่องมือหรืออุปกรณ์ • ยานพาหนะ • ฯลฯ
สินทรัพย์ (Assets) เงินสด ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ ทรัพยากรที่กิจการเป็นเจ้าของหรือควบคุมได้ ยานพาหนะ ที่ดิน อาคาร วัสดุสำนักงาน เครื่องจักร อุปกรณ์
หนี้สิน (Liabilities) เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืม-สถาบันการเงิน/ บุคคล สิทธิของเจ้าหนี้ ที่มีต่อสินทรัพย์ ค่าแรงค้างจ่าย เจ้าหนี้ภาษี
ส่วนของเจ้าของ (OWNERS’ EQUITY) คือ ส่วนได้เสียคงเหลือภายหลังหักหนี้สินออก จากสินทรัพย์แล้ว (สินทรัพย์ - หนี้สิน = ส่วนทุนหรือสินทรัพย์สุทธิ)
ส่วนทุน (Equity)- บริษัท ทุนที่นำมาลง:หุ้นสามัญ กำไรสะสม สิทธิของเจ้าของ ที่มีต่อสินทรัพย์ เงินปันผลจ่าย
สมการทางบัญชี: สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ สินทรัพย์ที่กิจการมีย่อมเท่ากับผู้ที่ลงทุนในสินทรัพย์หรือผู้มีสิทธิในสินทรัพย์คือเจ้าหนี้และเจ้าของ
สมการบัญชี แหล่งใช้ไปของเงินทุน = แหล่งที่มาของเงินทุน สินทรัพย์ = ทุนของเจ้าของ สินทรัพย์ = เจ้าหนี้(หนี้สิน) สินทรัพย์ = เจ้าหนี้(หนี้สิน) + ทุนของเจ้าของ และเมื่อดำเนินงานไปในช่วงเวลาหนึ่ง(เดือน, ปี ) รายได้ - ค่าใช้จ่าย = กำไร (ขาดทุน) กำไร(ขาดทุน) ส่งผลให้ เจ้าของเปลี่ยนแปลง สินทรัพย์ = หนี้สิน +{ทุนเจ้าของ + กำไร (ขาดทุน)}
กิจกรรม ทางธุรกิจ รายการ ทางบัญชี งบการเงินหรือ รายงานการเงิน รายการทางบัญชี แบ่งเป็น 5 หมวด • หมวดรายได้ • หมวดค่าใช้จ่าย • หมวดสินทรัพย์ • หมวดหนี้สิน • หมวดทุน
งบการเงิน • ผลผลิตหนึ่งของกระบวนการหรือวงจรทางการบัญชีจัดทำในรูป งบการเงิน (Financial Statements) หรือรายงานการเงิน (Financial Reports)
รายงาน :งบการเงิน กิจการทำผลงานดีอย่างไร ระหว่างงวดบัญชีหนึ่ง ฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง งบกำไรขาดทุน งบกระแส เงินสด งบดุล
ความสัมพันธ์ระหว่างงบกำไรขาดทุนกับงบดุลความสัมพันธ์ระหว่างงบกำไรขาดทุนกับงบดุล งบดุลงบกำไรขาดทุน สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนทุน + รายได้ - ค่าใช้จ่าย กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 1 ตค. 30 กย. 1 สค. 31 สค. 1 มค. 31 ธค. งวดบัญชี
การหมุนเวียนของกระแสเงินสดของกิจการการหมุนเวียนของกระแสเงินสดของกิจการ กระแสเงินสดจากการลงทุน กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน กระแสเงินสดรับ ขายเชื่อ ขายสินทรัพย์หรือเงินลงทุน ซื้อสินทรัพย์หรือเงินลงทุน ลูกหนี้การค้า ขายเงินสด ผลตอบแทนเงินลงทุน สินค้าสำเร็จรูป เงินสด กู้ยืมเงิน ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กระบวนการผลิต ดอกเบี้ยจ่าย จ่ายคืนเงินกู้ ซื้อเงินเชื่อ เจ้าหนี้การค้า วัตถุดิบ เงินเพิ่มทุน ค่าแรงและค่าใช้จ่ายในการผลิต เงินปันผล ภาษีเงินได้ กระแสเงินสดจ่าย กระแสเงินสดจากการจัดหาเงิน
รายงานการเงินที่สำคัญรายงานการเงินที่สำคัญ งบกำไรขาดทุน (Income Statement) เป็นงบที่แสดงผลการดำเนินงานของกิจการภายในรอบเวลาหนึ่ง(งวดบัญชี) เช่น 1 เดือนหรือ 1 ปี เป็นต้น ว่ามีกำไรหรือขาดทุนเท่าใด
ขายสินค้า ขายบริการ ค่าเช่า ค่าดอกเบี้ย เงินปันผล ต้นทุนสินค้าขาย ต้นทุนการบริการ ค่าใช้จ่ายทางการตลาด ค่าใช้จ่ายทางการบริหาร ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ผลการดำเนินงานของธุรกิจทั่วไป กำไร(ขาดทุน) = รายได้ - ค่าใช้จ่าย
กิจการให้บริการ กิจการขายสินค้า รายได้บริการ ขายสุทธิ หัก หัก ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ต้นทุนสินค้าขาย เท่ากับ เท่ากับ กำไรสุทธิ กำไรขั้นต้น หัก ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน เท่ากับ กำไรสุทธิ
งบกำไรขาดทุน (หน่วย : บาท) ค่าขาย8,000 หัก ต้นทุนขาย 5,000 กำไรขั้นต้น3,000 หัก ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร 2,000 กำไรสุทธิ 1,000
บริษัทไตรอุโฆษ จำกัดงบกำไรขาดทุนประจำปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25X_
รายได้ ผู้ที่มีส่วนรับผิดชอบหลัก คือ ฝ่ายการตลาด ฝ่ายตลาด จะต้องวางกลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสม ไม่ว่าด้านการกำหนดราคา การส่งเสริมการขาย การโฆษณาประชาสัมพันธ์ การหาช่องทางการจำหน่ายที่เหมาะสม ด้านผลิตภัณฑ์ที่ต้องมีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ให้ผู้บริโภคและผู้ซื้อให้เพียงพอในการตัดสินใจ ในบางประเทศมีกฎหมายว่าด้วย Product Liability ถ้าสินค้า/ผลิตภัณฑ์ใด ผู้บริโภคใช้แล้วเป็นอันตราย อาจมีการฟ้องร้องได้ ดังนั้น ในการทำการตลาดต้องรับผิดชอบต่อกลยุทธ์ที่ดำเนินการ การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ต้องให้ข้อมูลที่ถูกต้องไม่หลอกลวงผู้ใช้ ถ้าองค์กรมีการดำเนินการที่ดีมีความรับผิดชอบต่อสังคมก็จะสร้างภาพลักษณ์ที่ดี (Corporate Image) ที่จะส่งผลต่อองค์กรในที่สุด
ต้นทุนสินค้าขาย ด้านการผลิตมีบทบาทสำคัญที่ส่งผลต่อการจัดการที่ยั่งยืนทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และสิ่งแวดล้อม กระบวนการผลิตตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์การจัดหาวัตถุดิบ การผลิต และการจัดส่งและการเลิกใช้ จะส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมตั้งแต่เกิดจนถึงตาย ดังนั้นการออกแบบผลิตภัณฑ์ต้องคำนึงถึงการใช้วัสดุ วัตถุดิบ ที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต้องคำนึงถึงการประหยัด ทรัพยากรธรรมชาติ เช่นการนำวัสดุที่นำมาใช้ใหม่ (Recycle Material) เป็นต้น
เมื่อทำการผลิตจะต้องดำเนินการที่ลดของเสียที่เกิดจากการผลิต การผลิตต้องคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกระบวนการผลิต ได้แก่ ด้านอากาศ (ฝุ่นละออง กลิ่น) ด้านน้ำ มีการปล่อยน้ำที่มีสารเคมี หรือปนเปื้อนออกไป ต้องมีการจัดการกำจัดน้ำเสียก่อนไปสู่สาธารณะ มลภาวะด้านเสียงบางโรงงานจะมีเครื่องจักรที่มีเสียงดังมาก มีผลต่อประสาททางการได้ยิน ดังนั้นต้องมีการป้องกัน เช่น ให้พนักงานใส่หูป้องกันเสียง มลภาวะทางสายตา เช่น ความสะอาด การจัดวางเครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องจักร สินค้าที่ไม่ดูแลอาจเป็นอันตราย เกิดขึ้นในโรงงานได้ และการเก็บรักษาไม่ถูกต้องอาจทำให้เกิดความเสียหาย เมื่อผลิตแล้วการจัดส่งต้องมีระบบการจัดส่งที่ดี เพราะการขนส่งจะส่งผลต่อการใช้พลังงาน และมลภาวะทางอากาศ
การผลิต ดังนั้นการผลิตที่ดี การใช้พลังงานที่ประหยัด ก็จะลดปัญหาการเกิดโลกร้อนได้ส่วนหนึ่ง การจัดการการผลิตดีก็จะได้ผลิตภัณฑ์ที่มีต้นทุนต่ำ มีคุณภาพและ ตอบสนองผู้บริโภคได้ นอกจากนั้นการผลิตต้องดูแลสุขอนามัยของพนักงานในโรงงาน ควรมีการตรวจเช็ดสุขภาพของพนักงานเพื่อป้องกันและแก้ไข
ค่าใช้จ่ายการขายและบริหารค่าใช้จ่ายการขายและบริหาร ค่าใช้จ่ายทุกอย่างที่เกิดขึ้นในองค์กร(นอกจากสายการผลิตในโรงงาน) จะบันทึกในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ได้แก่ ค่าโฆษณา ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าเช่าสำนักงาน ค่าเสื่อมราคา เงินเดือนค่าจ้างของบุคลากร ค่าพาหนะหรือค่าขนส่ง ค่าน้ำค่าไฟ ฯลฯ ดังนั้นทุกคนในองค์กรต้องมีการทำงานที่มีประสิทธิภาพ และประหยัด การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งดูแลเงินเดือนค่าจ้าง สวัสดิการ ความปลอดภัยของพนักงานในองค์กรอย่างมั่นคง
ดอกเบี้ยจ่ายเป็นบทบาทผู้บริหารการเงินที่ต้องคำนึงถึงแหล่งที่มาของเงินในการนำมาลงทุน ถ้ากิจการมีการหาแหล่งเงินทุนจากเจ้าหนี้ กิจการก็ต้องมีภาระผูกพันในการจ่ายดอกเบี้ยและคืนเงินต้น ถ้ากิจการมีการกู้ยืมมากก็มีภาระที่ต้องจ่ายดอกเบี้ยสูง จะเกิดความเสี่ยงจากแหล่งที่มาของเงินดังนั้นการจัดการที่ยั่งยืนต้องคำนึงถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการบริหารทางการเงิน
ภาษี เป็นภาระผูกพันที่ธุรกิจต้องจ่ายภาษีให้ภาครัฐเพื่อไปใช้ในการบริหารกิจการภาครัฐ การบริหารจัดการที่ดีที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมต้องมีการจ่ายภาษีที่ถูกต้องไม่มีการตกแต่งบัญชี เพื่อหลีกเลี่ยงภาษี กำไร กำไรเป็นผลตอบแทนที่เกิดจากการบริหารธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมรวมทั้งที่ดูแลด้านสังคมสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลกัน
งบดุล BALANCE SHEET งบแสดงฐานะการเงินของกิจการณวันใดวันหนึ่งว่ามีสินทรัพย์และหนี้สินประเภทอะไรเป็นมูลค่าใด และมีส่วนทุนเท่าใด สินทรัพย์“ASSETS” หนี้สิน“LIABILITIES” ส่วนทุน“OWNERS’ EQUITY” สมการงบดุล สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนทุน = + หรือ ส่วนทุน สินทรัพย์ หนี้สิน = -
งบดุลงบดุลเป็นงบที่แสดงฐานะการเงินของกิจการ จากงบดุลจะทำให้ทราบถึงแหล่งที่มา และการใช้ไปของเงิน การบริหารทางการเงินที่เหมาะสมจะทำให้มีความเสี่ยง (Risk)ในระดับที่ยอมรับได้ และมีผลตอบแทนที่เหมาะสม (Return)
บริษัทไตรอุโฆษ จำกัดงบดุลณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x_
เจ้าหนี้ + เจ้าของ - หุ้นสามัญ - กำไรสะสม สินทรัพย์ รายได้ค่าขาย (สินค้า/บริการ)หักค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน = กำไรจากการดำเนินงานหักดอกเบี้ยจ่าย= กำไรก่อนหักภาษีหักภาษีเงินได้หักเงินปันผล ผลตอบแทน ต่อสินทรัพย์ ผลตอบแทน ต่อเจ้าของ = กำไรสุทธิ = กำไรสะสม
ความสำเร็จในการประกอบธุรกิจความสำเร็จในการประกอบธุรกิจ การลงทุนให้พอเหมาะ ขายเร็ว ขายมาก / การหมุนเวียนสินค้าสูง เก็บเงินได้เร็วมีสภาพคล่องดี / มีความสามารถชำระหนี้ได้ตามกำหนด 4. การทำกำไรได้ดี
การวิเคราะห์ทางการเงินการวิเคราะห์ทางการเงิน • 1. การวิเคราะห์สภาพคล่อง (Liquidity Ratio) • 2. อัตราส่วนวัดกิจกรรม (Activity Ratio) • 3. ความสามารถด้านการทำกำไร (Profitability Ratio) • 4. อัตราส่วนโครงสร้างของเงินทุน(Leverage – Capital Structure Ratios)
การวางแผนกำไร ราคาขาย ปริมาณขาย ค่าใช้จ่ายคงที่ (Fixed Expenses) ค่าใช้จ่ายแยก ค่าใช้จ่ายผันแปร (Variable Expenses)
การวางแผนกำไร จุดคุ้มทุน (Break-even Point) เป็นการวิเคราะห์ว่าต้องขายสินค้าให้ได้เป็นจำนวนเงินหรือปริมาณเท่าใด จึงจะคุ้มทุน (มีรายได้เท่ากับค่าใช้จ่ายพอดี หรือ กำไรเท่ากับศูนย์)
จุดคุ้มทุน(Break-even Point) ต้นทุนคงที่ทั้งสิ้น ราคาขายต่อหน่วย – ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย จุดคุ้มทุน (หน่วย) = ต้นทุนคงที่ทั้งสิ้น xราคาขายต่อหน่วย (ราคาขายต่อหน่วย - ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย) จุดคุ้มทุน (บาท) =
การวางแผนกำไร จากจุดคุ้มทุน สามารถวางแผนกำไรที่ต้องการได้โดยใช้ข้อมูล ดังนี้ ต้นทุนคงที่ทั้งสิ้น + กำไรที่ต้องการ ราคาขายต่อหน่วย - ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ปริมาณขาย (หน่วย) (ต้นทุนคงที่ทั้งสิ้น + กำไรที่ต้องการ) x ราคาขายต่อหน่วย ราคาต่อหน่วย - ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ยอดขาย (บาท)
จุดคุ้มทุน คือ จุดที่รายได้เท่ากับค่าใช้จ่ายพอดี รายได้ = ค่าใช้จ่าย รายได้ = ค่าใช้จ่ายคงที่ + ค่าใช้จ่ายผันแปรPQ = F + VQ PQ – VQ = F Q (P-V) = F โดยที่P = ราคาขายต่อหน่วย Q = ปริมาณที่ผลิต F = ค่าใช้จ่ายคงที่ V = ค่าใช้จ่ายผันแปรต่อหน่วย P-V = กำไรผันแปรต่อหน่วย Q = F P - V การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-even point Analysis)
จุดคุ้มทุน= = หรือ = ตัวอย่าง ข้อมูลปี 25X1 สมมติค่าใช้จ่ายบริหารและขายและดอกเบี้ยเป็นค่าใช้จ่ายคงที จุดคุ้มทุน = = 1,100,000 บาท
การวางแผนกำไร กิจการสามารถตั้งเป้ากำไรได้ โดยกำหนดกำไรที่ต้องการหาปริมาณที่ขายที่ได้กำไรตามที่ต้องการ กำไร = รายได้ – ค่าใช้จ่าย E = PQ – F – VQ ตัวอย่าง ถ้าต้องการกำไร 120,000 บาท จะต้องขายเท่าไร ปริมาณที่ขาย = = 1,700,000 บาท ดังนั้นกิจการต้องขายให้ได้ 1,700,000 บาท เพื่อให้ได้กำไรเท่ากับ 120,000 บาท
การพิจารณาการลงทุน • โครงการที่จะทำ คุ้มค่าหรือไม่ เพียงใด พิจารณาจาก • ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period ) • ค่าปัจจุบันสุทธิ ((NET PRESENT VALUE = NPV) • อัตราผลตอบแทนภายใน (INTERNAL RATE OFRETURN = IRR) ต้องทราบกระแสเงินสดจ่าย ต้องทราบกระแสเงินสดรับ • หากมีการกู้ยืม มุมมองของเจ้าหนี้ เช่น ธนาคาร จะพิจารณาเรื่องการจ่ายชำระดอกเบี้ย และเงินต้นคืน ได้หรือไม่
สิ่งที่ต้องทราบ 1. กระแสเงินสดจ่ายเพื่อการลงทุน (Capital Spending) 2. เงินทุนหมุนเวียนที่ต้องการเพิ่มขึ้น (Change in Net Working Capital: ∆NWC) 3. กระแสเงินสดสุทธิจากการดำเนินงาน (Operating Cash Flows: OCF) 0 1 2 3 4 5 Capital Spending xx - - - - - ∆ NWC xx - - - - - OCF -xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx
1. กระแสเงินสดจ่ายเพื่อการลงทุน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 1.1 ที่ดิน xxบาท 1.2 อาคาร xx 1.3 เครื่องจักร / อุปกรณ์ xx 1.4 รถยนต์ xx 1.5 เครื่องใช้สำนักงาน xx 1.6 อื่น ๆ xx รวมกระแสเงินสดจ่ายเพื่อการลงทุน xx บาท 2. เงินทุนหมุนเวียนสุทธิที่ต้องการเพิ่มขึ้น 2.1 วัสดุสิ้นเปลือง xx บาท 2.2 บริการที่เป็นการขายเชื่อ xx 2.3 เงินสดสำรองไว้ใช้ในการดำเนินงาน xx xxบาท