1 / 48

Chapter 9

Chapter 9 . BUSINESS PERFORMANCE MANAGEMENT. Learning Objectives. ทำความเข้าใจธรรมชาติของการจัดการประสิทธิภาพการดำเนินงานทางธุรกิจ (business performance management (BPM)) ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ทำความเข้าใจ closed-loop processes ที่เชื่อมกลยุทธืเข้ากับการดำเนินงาน

Download Presentation

Chapter 9

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chapter 9 BUSINESS PERFORMANCE MANAGEMENT

  2. Learning Objectives • ทำความเข้าใจธรรมชาติของการจัดการประสิทธิภาพการดำเนินงานทางธุรกิจ(business performance management (BPM)) ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด • ทำความเข้าใจ closed-loop processes ที่เชื่อมกลยุทธืเข้ากับการดำเนินงาน • อธิบาย best practices บางเรื่องที่เกี่ยวกับการวางแผนและการรายงานด้านการจัดการ • อธิบายความแตกต่างระหว่างการจัดการและการวัดประสิทธิภาพ • ทำความเข้าใจบทบาทของกรรมวิธีต่าง ๆ ใน BPM • อธิบายองค์ประกอบพื้นฐานของ balanced scorecard และ Six Sigma methodologies • อธิบายความแตกต่างระหว่าง scorecards และ dashboards • ทำความเข้าใจพื้นฐานบางประการของการออกแบบ dashboard • ทำความเข้าใจแนวโน้มการใช้ business activity monitoring (BAM)

  3. Business Performance Management (BPM) Overview • นิยามของ BPM (Business performance management) ระบบ real-time ที่เตือนผู้จัดการถึงแนวโน้มของโอกาส ปัญหาและอุปสรรคที่กำลังจะเกิดขึ้น และทำการแก้ปัญหาผ่านทางตัวแบบและการร่วมมือต่าง ๆ • การเปรียบเทียบระหว่าง BPM และ BI • BPM คือการเติบโตของ BI และผนวกรวมเข้ากับเทคโนโลยี โปรแกรมประยุกต์ และ เทคนิคต่าง ๆ • BPM เป็นกลยุทธ์ที่ใช้ทั่วทั้งองค์กรเพื่อใช้ค้นหามาตรการการป้องกันองค์กรจาก optimizing local business at the expense of overall corporate performance • BPM เป็นส่วนหนึ่งของงานประจำวันของผู้จัดการ

  4. Business Performance Management (BPM) Overview • ข้อสรุปเกี่ยวกับกระบวนการ BPM • BPM จะล้อมรอบไว้ด้วย closed-loop set of processes ที่เชื่อมกลยุทธ์เข้ากับการดำเนินการเพื่อ optimize business performance ซึ่งบรรลุได้โดย: • กำหนด goals และ objectives • ก่อให้เกิดความคิดริเริ่มและการวางแผนเพื่อบรรลุ goals ข้างต้น • ทำการเฝ้าดูประสิทธิภาพตามความจริงเทียบกับ goals และ objectives • ดำเนินการแก้ไข (Taking corrective action)

  5. Business Performance Management (BPM) Overview

  6. Strategize: Where Do We Want to Go? • การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic planning) • กระบวนการวางแผนกลยุทธ์มีงานที่ต้องทำเหมือน ๆ กันคือ: • ทำการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน • กำหนด planning horizon • ทำการตรวจสอบสภาพแวดล้อม (environment scan) • ระบุถึงปัจจัยที่วิกฤติต่อความสำเร็จต่าง ๆ (critical success factor) • ทำการวิเคราะห์ช่องว่าง (gap analysis) ให้แล้วเสร็จ • สร้างวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ์ (strategic vision) • พัฒนากลยุทธ์ทางธุรกิจ (business strategy) ขึ้นมา • ระบุถึงเป้าประสงค์ (objective) และ เป้าหมาย (goal) ทางกลยุทธ์

  7. Strategize: Where Do We Want to Go? • เป้าประสงค์ทางกลยุทธ์ (Strategic objective) ถ้อยแถลงแบบกว้าง ๆ หรือ การดำเนินการทั่ว ๆ ไป ที่อธิบายถึงทิศทางไปสู่เป้าหมายขององค์กรหนึ่ง ๆ • เป้าหมายทางกลยุทธ์ (Strategic goal) เป้าหมายที่วัดได้ (quantified objective) ภายในช่วงเวลาที่กำหนด • วิสัยทัศน์ทางกลยุทธ์ (Strategic vision) • ภาพหรือความคิดในใจซึ่งองค์กรอยากจะเป็นในอนาคต • ปัจจัยที่วิกฤติต่อความสำเร็จต่าง ๆ (Critical success factors (CSF)) ปัจจัยสำคัญ ๆ ซึ่งใช้อธิบายสิ่งค่าง ๆ ที่องค์กรต้องทำให้ดีเยี่ยมเพื่อให้ประสบความสำเร็จในพื้นที่ทางการตลาด

  8. Strategize: Where Do We Want to Go? • ช่องว่างทางกลยุทธ์ (The strategy gap) • แหล่งกำเนินสี่แหล่งสำหรับช่องว่างระหว่างกลยุทธ์และการดำเนินการ: • วิสัยทัศน์ (Vision) • คน (People) • การจัดการ (Management) • ทรัพยากรต่าง ๆ (Resources)

  9. Plan: How Do We Get There? • การวางแผนการดำเนินงาน (Operational planning) แผนที่ใช้เปลี่ยน strategic objectives และ goals ขององค์กรหนึ่ง ๆ ไปสู่กลุ่มของการดำเนินการและความคิดริเริ่มใหม่ ๆ ที่ถูกกำหนดไว้เป็นอย่างดี ทรัพยากรที่ต้องการใช้งาน และผลลัพธ์ตามความคาดหวัง • แผนที่มุ่งเน้นยุทธวิธี (Tactic-centric plan)–ยุทธวิธีถูกกำหนดขึ้นมาเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้แล้วในแผนกลยุทธ์ (โดยการใช้best practices ในองค์กรที่มีอยู่) • แผนมุ่งเน้นทางการเงิน (Budget-centric plan) - แผนทางการเงินหรือแผนทางด้านงบประมาณที่ถูกจัดทำขึ้นอันแสดงให้เห็นถึงผลรวมของ targeted financial values

  10. Plan: How Do We Get There? • การวางแผนทางการเงินและการจัดทำงบประมาณ (Financial planning and budgeting) • เป้าประสงค์ทางกลยุทธ์และตัววัด (key metric) ขององค์กรซึ่งต้องรองรับการผลักดันจากระดับสูงลงมาสู่ระดับล่างสำหรับแบ่งสรรการใช้งานทรัพย์สินขององค์กรทั้งที่เป็นแบบ tangible และ intangible • การแบ่งสรรทรัพยากรต้องระมัดระวังเพื่อให้เป็นไปทางเดียวกับเป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์และยุทธวิธีขององค์กรเพื่อบรรลุผลตามกลยุทธ์ที่วางไว้

  11. Monitor: How Are We Doing? • กรอบงานเพื่อทำความเข้าใจสำหรับการการเฝ้าดูประสิทธิภาพการดำเนินงานขององค์กรต้องระบุเรื่องสำคัญสองเรื่องคือ: • จะเฝ้าดูอะไร (What to monitor) • จะเฝ้าดูอย่างไร (How to monitor)

  12. Monitor: How Are We Doing? • ระบบการควบคุมเพื่อตรวจสอบตนเอง (Diagnostic control system) A cybernetic system: - จะมีอินพุต - มีกระบวนการเปลี่ยนอินพุตให้เป็นเอาต์พุต - และมีการนำเอาเอาต์พุตไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานหรือการเปรียบเทียบสมรรถนะกับคู่เทียบ - แล้วมีช่องทางการป้อนกลับเพื่อให้สารสนเทศของความผันแปรระหว่างเอาต์พุตที่ได้จริงกับมาตรฐานแผ่กระจายออกไปเพื่อให้มีการดำเนินการแก้ไข

  13. Monitor: How Are We Doing? Figure 9.2 Diagnostic Control System

  14. Monitor: How Are We Doing? • หลุมพลางของ variance analysis • ข้อดีอันใหญ่หลวงของการวิเคราะห์ที่มุ่งเน้นไปที่ negative variances ก็คือเมื่อ functional groups หรือ departments ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายของเขาได้ • หายากที่จะมีการนำเอา positive variances มาทบทวนเพื่อมองหาโอกาสที่เป็นไปได้ และหายากที่การวิเคราะห์จะมุ่งเน้นไปที่สมมติฐานที่ชี้ให้เห็นถึงรูปแบบของความผันแปร (variance pattern) ที่เกิดขึ้น

  15. Monitor: How Are We Doing?

  16. Act and Adjust: What Do We Need to Do Differently? • Hackett Group’s benchmarking process ได้แบ่งการวางแผนและการรายงานด้านการจัดการออกเป็นสี่กระบวนการย่อย คือ: • การวางแผลกลยุทธ์ (Strategic planning) • การวางแผนกาดำเนินงานและการเงิน (Operational and financial planning) • การจัดทำรายงาน (Reporting) • การพยากรณ์ (Forecasting)

  17. Act and Adjust: What Do We Need to Do Differently? • แต่ละกระบวนการย่อยจะถูกประเมินในเทอมของ 5 มิติของความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล: • การปรับเข้าหากันทางกลยุทธ์ (Strategic alignment) • การทำงานร่วมกัน (Partnering) • กระบวการ (Process) • เทคโนโลยี (Technology) • ผู้คนและการจัดโครงสร้าง (People and organizations)

  18. Act and Adjust: What Do We Need to Do Differently? • Hackett Group’s benchmarking results แสดงให้เห็นว่าบริษัทระดับโลกต่าง ๆ นั้น: • การจัดการต้นทุนจะมีประสิทธิภาพมากกว่าอย่างชัดเจนเมื่อเทียบกับบริษัททั่วไป • มุ่งเน้นไปที่ operational excellence และ experience อย่างมีนัยสำคัญในการลดอัตราลาออกของพนักงาน • มี hybrid sourcing strategies ที่รวมเอา shared services และ outsourcing เข้าไว้ด้วยกัน • จัดหาเครื่องมือและการอบรมให้กับผู้บริหารเพื่อกระจายสารสนเทศและใช้ในการวางแผนกลยุทธ์ การทำงบประมาณ และ การพยากรณ์ • ปรับ strategic and tactical plans เข้าหากันอย่างใกล้ชิด ส่งเสริมให้ functional areas เข้าไปมีส่วนร่วมอย่างมีประสิทภาพกับ overall business goals

  19. Act and Adjust: What Do We Need to Do Differently? • การมีเวลาวิเคราะห์น้อยเกินไป (Paucity of analysis) • ผลกระทบโดยรวมของการปฏิบัติการในการวางแผนและการทำรายงานของบริษัทโดยทั่วไปก็คือผู้บริหารมรเวลาน้อยเกินไปในการทบทวนผลลัพธ์ต่าง ๆ จากมุมมองทางกลยุทธ์ แล้วดูว่าอะไรที่ควรทำให้ต่างออกไป และลงมือทำการแก้ไขแผนให้เหมาะสม

  20. Performance Measurement • ระบบการวัดประสิทธิภาพการดำเนินงาน (Performance measurement system) หมายถึงระบบที่ช่วยให้ผู้จัดการสามารถติดตามการนำกลยุทธ์ทางธุรกิจไปใช้งานโดยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้จริงกับ strategic goals และ objectives • ปัญหาของระบบการวัดประสิทธิภาพของการดำเนินงานที่มีอยู่ในปัจจุบันคือการมุ่งเน้นเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไป เช่น ใช้เฉพาะการวัดทางด้านการเงิน เป็นต้น • ระบบที่นิยมกันมากที่สุดก็คือ balanced scorecard (BSC) • กรรมวิธีของ BSC เป็นการมองแบบองค์รวมของระบบการวัดที่เชื่อมทิศทางเชิงกลยุทธ์ขององค์กรเข้าด้วยกันผ่านทางมุมมองสี่ด้านคือ: • การวัดทางด้านการเงินอันเกิดจากการสนับสนุนของตัววัดทางด้านลูกค้า กระบวนการภายใน และการเรียนรู้และการเติบโต

  21. Performance Measurement • ข้อด้อยของการใช้ข้อมูลทางด้านการเงิน (financial data) มาเป็นแกนกลางของการวัดประสิทธิภาพของการดำเนินงาน: • การวัดทางด้านการเงินมักถูกรายงานโดยโครงสร้างขององค์กรและมันไม่ได้บอกถึงกระบวนการต่าง ๆ ที่สร้างผลลัพธ์นั้น ๆ ออกมา • การวัดทางด้านการเงินเป็นตัวชี้วัดแบบตาม (lagging indicators) บอกเราแต่เพียงว่าอะไรเกิดขึ้น แต่ไม่ได้บอกว่าทำไมมันจึงเกิดขึ้น หรืออะไรที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต • การวัดทางด้านการเงินมักเป็นผลมาจากการแบ่งสรรทรัพยากรซึ่งไม่ค่อยเกี่ยวข้องกับกระบวนการที่สร้างมันขึ้นมา • การวัดทางด้านการเงินมุ่งเน้นไปที่ระยะสั้นและให้สารสนเทศเพียงเล็กน้อยในเรื่องที่เกี่ยวกับระยะยาว

  22. Performance Measurement • การวัดประสิทธิภาพการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ • ส่วนผสมพื้นฐานของการรวบรวมการวัดประสิทธิภาพของการดำเนินงานที่ดี คือ • การวัดต้องมุ่งเน้นที่ key factors • การวัดต้องผสมกันระหว่าง อดีต ปัจจุบัน และอนาคต • การวัดต้องสมดุลระหว่างความต้องการของ shareholders, employees, partners, suppliers และ stakeholders • การวัดต้องเริ่มจากระดับสูงแล้วไหลมาสู่ระดับล่าง • การวัดต้องมีเป้าหมายอยู่บนพื้นฐานของการวิจัยและความเป็นจริง ไม่ใช่เรื่องของคุณลักษณะ (arbitrary)

  23. BPM Methodologies • ระบบการวัดประสิทธิภาพของการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพจะช่วยให้: • ปรับ top-level strategic objectives และ bottom-level initiatives เข้าหากัน • บ่งชี้ถึงโอกาสและปัญหาต่าง ๆ สอดรับกับช่วงเวลาที่ต้องการ • ระบุถึงลำดับความสำคัญและการแบ่งสรรทรัพยากรตามลำดับความสำคัญข้างต้น • ต้องทำการเปลี่ยนแปลงการจัดเมื่อกระบวนการและกลยุทธ์ที่กำลังวัดอยู่เปลี่ยนแปลงไป • ทำให้เข้าใจถึงความรับผิดชอบ และเข้าใจถึงประสิทธิภาพการดำเนินงานจริงที่สัมพันธ์กับความรับผิดชอบนั้น ๆ และจดจำและให้รางวัลเมื่อบรรลุเป้าประสงค์ • ดำเนินการปรับปรุงกระบวนการและวิธีปฏิบัติเมื่อข้อมูลบ่งชี้ไปที่มัน • วางแผนและพยากรณ์อย่างเชื่อถือได้ให้สอดรับกับเวลาที่ต้องการ

  24. BPM Methodologies • Balanced scorecard (BSC) การวัดประสิทธิภาพและกรรมวิธีในการจัดการที่ช่วยเปลี่ยนเป้าหมายและเป้าประสงค์ทาง การเงินลูกค้า กระบวนการภายใน และการเรียนรู้และการเติบโต ขององค์กร ไปสู่กลุ่มแนวความคิดสร้างสรรค์ที่สามารถดำเนินการได้

  25. BPM Methodologies • ความหมายของ “balance” • BSC ถูกออกแบบมาเพื่อชดเชยข้อจำกัดของระบบที่มุ่งเน้นเฉพาะการเงินเพียงอย่างเดียว • เป้าประสงค์ที่ไม่ใช่การเงินจะอยู่ในสามมุมมองต่อไปนี้: • ลูกค้า (Customer) • กระบวนการธุรกิจภายในองค์กร (Internal business process) • การเรียนรู้และการเติบโต (Learning and growth)

  26. BPM Methodologies

  27. BPM Methodologies • ใน BSC เทอม “balance”ปรากฏขึ้นมาก็เพราะว่า กลุ่มการวัดที่มีการรวมมุมมองหลายมุมมองเข้าด้วยกันจึงถือว่ากลุ่มตัววัดนี้สมดุลกันในเชิง: • ทั้งด้านการเกี่ยวข้องกับเงินและไม่เกี่ยวข้องกับการเงิน (Financial and nonfinancial) • มีทั้งตัววัดนำและตัววัดตาม (Leading and lagging) • มีทั้งภายในและภายนอกองค์กร (Internal and external) • มีทั้งตัววัดเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ (Quantitative and qualitative) • มีทั้งระยะสั้นและระยะยาว (Short term and long term)

  28. BPM Methodologies • การปรับเข้าหากันของกลยุทธ์และการดำเนินงาน (Aligning strategies and actions ) • BSC ส่งเสริมให้องค์กรทำการปรับการดำเนินงานเข้ากับกลยุทธ์ในภาพรวมผ่านทางอนุกรมของขั้นตอนที่มีความสัมพันธ์กัน: • บ่งชี้เป้าประสงค์ทางกลยุทธ์ของแต่ละมุมมอง (ประมาณ 15 ถึง 25 ตัวโดยรวม) • หาแนวทางการวัดของแต่ละเป้าประสงค์ทางกลยุทธ์ ควรผสมกันระหว่างการวัดเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ • กำหนดเป้าหมาย (target) ของการวัด • แสดงการดำเนินการเชิงกลยุทธ์เพื่อบรรลุแต่ละเป้าประสงค์ (ซึ่งก็คือ ความรับผิดชอบ) • เชื่อมเป้าประสงค์ทางกลยุทธ์ที่หลากหลายเข้าด้วยกันผ่านทาง cause-and-effect diagram ซึ่งเรียกว่า แผนที่กลยุทธ์ (strategy map)

  29. BPM Methodologies • Strategy map การแสดงเป็นภาพที่ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่าง key organizational objectives ในทั้งสี่มุมมองของ BSC

  30. BPM Methodologies • BSC certification • การร่วมมือกันใน BSC ทำให้ software vendors มีโอกาสในการพัฒนาโปรแกนมประยุกต์ขึ้นมาเพื่อรับรอง (certification) การสอบรับของ well-defined set of criteria • โปรแกรมประยุกต์ต้องยอมให้ผู้ใช้ (end user) สามารถดู: • Strategic objectives จากทั้งสี่มุมมองได้ • การวัด เป้าหมาย และ การดำเนินงานที่ร่วมกับเป้าประสงค์แต่ละตัว • ความสัมพันธ์ในเชิง cause-and-effect ระหว่างเป้าประสงค์ต่าง ๆ

  31. BPM Methodologies • Six Sigma กรรมวิธีของการวัดประสิทธิภาพเพื่อลดจำนวนข้อบกพร่องในกระบวนการทางธุรกิจลงให้เหลือ จนเกือบเป็นศูนย์เมื่อคิดในรูปของต่อหนึ่งล้านของความเป็นไปได้ (defects per million opportunities (DPMO)) • The DMAIC performance model ตัวแบบการปรับปรุงธุรกิจแบบ closed-loop ที่รวมเอาขั้นตอนของกระบวนการ defining, measuring, analyzing, improving, และ controlling เข้าไว้ด้วยกัน • ข้อจำกัดของ Six Sigma • ขาดการบูรณาการระหว่าง Six Sigma projects ที่หลากหลายทั่วองค์กรเข้าไว้ด้วยกัน • ความล้มเหลวที่เกิดขึ้นมาจากขาดกรรมวิธีสนับสนุนที่ดี

  32. BPM Architecture and Applications • สถาปัตยกรรมของ BPM • สถาปัตยกรรมของระบบ (System architecture) Theการออกแบบระบบทั้งทางด้านตรรกะ (logical) และ กายภาพ (physical) • ระบบ BPM ต้องการสามองค์ประกอบเพื่อทำงานร่วมกันเพื่อให้การนำกลยุทธ์ไปใช้งานเกิดความสำเร็จ: • ระดับชั้นฐานข้อมูล (Database tier) • ระดับชั้นโปรแกรมประยุกต์ (Application tier) • ระดับชั้นที่เชื่อมต่อกับผู้ใช้ (Client or user interface)

  33. BPM Architecture and Applications

  34. BPM Architecture and Applications • การออกแบบระดับชั้นฐานข้อมูลประกอบด้วย: • Transactional data stores • Application data marts • Centralized data warehouse

  35. BPM Architecture and Applications • ระดับชั้นโปรแกรมประยุกต์ใน BPM มักประกอบด้วย: • Budgeting, planning, and forecasting • Profitability modeling and optimization • Scorecard applications • Financial consolidation • Statutory and financial reporting

  36. BPM Architecture and Applications • ระดับชึ้นการเชื่อมต่อกับผู้ใช้ใน BPM • ส่วนการเชื่อมต่อกับผู้ใช้เป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่าง BPM applications กับ end user • Web browser ถือเป็น primary tool ในปัจจุบันสำหรับเข้าถึงสารสนเทศในBPM system • Spreadsheets เป็นทางเลือกที่ได้รับความนิยมเมื่อต้องการฟังก์ชันการเชื่อมต่อกับผู้ใช้ที่มีอยู่มากมายเพื่อมาสนับสนุนการวิเคราะห์และคำนวณของผู้ใช้ • การเชื่อมต่อกับ BPM ต้องจัดหาคำแนะนำอันเป็นแนวทางให้กับผู้ใช้

  37. BPM Architecture and Applications Figure 9.7 Hyperion Solutions BPM Architecture

  38. Performance Dashboards • ทั้ง Dashboards และ Scorecards จะให้การแสดงผลเป็นภาพ (visual display) ของสารสนเทศที่สำคัญที่รวบรวมและจัดให้อยู่ในหน้าจอเดียว ทำให้สารสนเทศถูกรับรู้ได้โดยการดูครั้งเดียวและง่ายต่อทำความเข้าใจ • Dashboards versus scorecards • Performance dashboards การแสดงภาพเพื่อใช้เฝ้าดู operational performance • Performance scorecards การแสดงภาพเพื่อดูความคืบหน้าเมื่อเทียบกับ goals และ targets ของกลยุทธ์และยุทธิวิธี

  39. Performance Dashboards

  40. Performance Dashboards • Performance dashboard is a multilayered application built on a business intelligence and data integration infrastructure that enables organizations to measure, monitor, and manage business performance more effectively (Eckerson)

  41. Performance Dashboards • Performance dashboards มีสามประเภท คือ: • แดชบอร์ดสำหรับงานปฏิบัติการ (Operational dashboards) • แดชบอร์ดสำหรับยุทธิวิธี (Tactical dashboards) • แดชบอร์ดสำหรับกลยุทธ์ (Strategic dashboards)

  42. Performance Dashboards • Dashboard design • “The fundamental challenge of dashboard design is to display all the required information on a single screen, clearly and without distraction, in a manner that can be assimilated quickly" (Few, 2005)

  43. Performance Dashboards • อะไรที่เรามองหาใน dashboard • การใช้องค์ประที่มองเห็นได้ (เช่น charts, performance bars, sparklines, gauges, meters, stoplights) เพื่อทำการเน้น (highlight) เมื่อมองดู ทำให้มองเห็นข้อมูลและสิ่งพิเศษที่ต้องการการลงมือทำ • ง่ายต่อผู้ใช้ เพราะพวกเขาต้องการการอบรมเล็กน้อยก็จะใช้งานได้แล้ว และทำความเข้าใจได้ง่ายอีกด้วย • รวมข้อมูลจากหลากหลาระบบให้อยู่ในรูปข้อสรุปในหน้าเดียว ทำให้มองธุรกิจในมุมเดียวกัน • ส่งเสริมให้ drill-down หรือ drill-through แหล่งข้อมูลหรือรายงานที่เกี่ยวข้อง

  44. Performance Dashboards • นำสเนอแบบ dynamic มองตามสถานการณ์จริงตามข้อมูลที่ได้รับในแต่ละเวลา ทำให้ผู้ใช้ up-to-date อยู่กับ recent changes ในธุรกิจ • Require little, if any, customized coding to implement, deploy, and maintain

  45. Business Activity Monitoring (BAM) • Business activity monitoring (BAM) ระบบตามเวลาจริง (real-time system) ที่แจ้งเตือนผู้จัดการทั้งหลายถึงแนวโน้มของโอกาส ปัญหาที่กำลังก่อตัวขึ้น อุปสรรคกีดขวาง และเข้าทำการแก้ไขโดยการดำเนินการผ่านทางตัวแบบต่าง ๆ และ การร่วมมือกัน (collaboration) • ประโยชน์ของ BAM • เข้าถึงข้อมูลในแบบ Real-time ในรูปแบบที่นำมาใช้งานได้เลย • เข้าถึง tools เพื่อร่วมมือกันและทำตัวแบบของปัญหา อันนำไปสู่การแก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว

  46. Business Activity Monitoring (BAM) • BAM depends on a wide range of technologies working in concert including: • ETL technology • Process modeling technology • Rules engines • Messaging servers • E-mail in-boxes, portals, dashboards, and Web services

  47. Business Activity Monitoring (BAM) • เรื่องที่เกี่ยวข้องกับ BAM • ผู้บริหารระดับสูงล้มเหลวในการพิจารณาถึงความพร้อมของเทคโนโลยีหรือกระบวนการทางธุรกิจที่พวกเขาต้องการเฝ้าดู • เรื่องเกี่ยวกับการจัดการการเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องสำคัญที่สุด • ประสิทธิภาพของ BAM ต้องการการทำงานอย่างใกล้ชิดกับหน่วยธุรกิจเพื่อบ่งชี้ key indicators (CSF) และ เทคนิคการวิเคราะห์ต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้เกิดการแจ้งเตือนล่วงหน้าในเรื่องที่กำลังจะเกิดขึ้นได้อย่างแม่นยำ เชื่อถือได้ • ผู้บริหารระดับสูงต้องกำหนดให้ผู้จัดการที่สนองตอบต่อปัญหาเฉพาะหน้าสามารถจัดการกับปัญหาและเรื่องต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว

  48. จบหัวข้อที่ 9 • มีคำถามมั๊ยครับ…….

More Related