200 likes | 440 Views
การติดเชื้อในโรงพยาบาลของทางเดินหายใจ. (Nosocomial Respiratory Tract Infection). การติดเชื้อ ในทางเดินหายใจส่วนล่าง. พ.ศ. 2531 พบเป็น อันดับสอง 14.6 % พ.ศ. 2535 พบเป็น อันดับหนึ่ง 20.1 % พ.ศ. 2541 พบเป็น อันดับหนึ่ง 28.4 % พ.ศ. 2543 พบเป็น อันดับหนึ่ง 30.3 %
E N D
การติดเชื้อในโรงพยาบาลของทางเดินหายใจการติดเชื้อในโรงพยาบาลของทางเดินหายใจ (Nosocomial Respiratory Tract Infection)
การติดเชื้อ ในทางเดินหายใจส่วนล่าง • พ.ศ. 2531 พบเป็นอันดับสอง14.6 % • พ.ศ. 2535 พบเป็นอันดับหนึ่ง20.1 % • พ.ศ. 2541 พบเป็นอันดับหนึ่ง 28.4 % • พ.ศ. 2543พบเป็น อันดับหนึ่ง 30.3 % • พ.ศ. 2544 พบเป็น อันดับสอง 34.1 % • ต่างประเทศ พบเป็นอันดับสอง15 %
การใช้เครื่องช่วยหายใจกับการเกิด pneumonia 1-3 วัน โอกาสเกิดได้ 7% >3 วัน โอกาสเกิดได้ 70% ใส่ E.T. โอกาสเกิดได้ 1.3% ใส่ E.T. & Resp. โอกาสเกิดได้ 4% ใส่ T.T. โอกาสเกิดได้ 26% ใส่ T.T. & Resp. โอกาสเกิดได้ 67%
Ventilator Associated Pneumonia ( VAP) พ.ศ 2545 NO. VAP / 1000 respirator-days mean = 15 control = 23
ปอดอักเสบพบได้ในผู้ป่วยปอดอักเสบพบได้ในผู้ป่วย • หลังผ่าตัดทรวงอก หรือช่องท้อง • ไม่รู้สึกตัว • มีความผิดปกติของสมองทำให้กลืนลำบาก • มีการอุดกลั้นหลอดอาหาร • ผู้ที่มีภูมิต้านทานต่ำ • ** ON RESPIRATOR **
อัตราตายเพิ่มขึ้นในกรณีอัตราตายเพิ่มขึ้นในกรณี • มีโรคหัวใจร่วมด้วย • ร่างกายทรุดโทรม ภูมิคุ้มกันโรคต่ำ • ได้รับการใส่ท่อเข้าหลอดลมคอ และใช้เครื่องช่วยหายใจ • ตามชนิดเชื้อก่อโรค - เชื้อกรัมลบถึงแก่กรรม ร้อยละ 50 • - เชื้อกรัมบวกถึงแก่กรรม ร้อยละ 5-25
ชนิดของเชื้อโรค 1. Endogenous (เชื้อจากตัวผู้ป่วยเอง) เชื้อที่พบก่อโรคได้ เช่น Strep. Pneumoniae, H. influenzae., GNB. ฯลฯ 2. Exogenous (เชื้อเกิดจากภายนอก) เชื้อที่พบก่อโรคได้ เช่น P.aeruginosa, Enterobacter spp., MRSA ฯลฯ พบได้น้อยกว่า Endogenous แต่ อันตราย สูงมากกว่า
แหล่งของเชื้อโรค 1. การเคลื่อนตัวของเชื้อจากทางเดินอาหาร 2. มือของบุคลากรและสิ่งแวดล้อม 3. การแพร่กระจายจากตำแหน่งติดเชื้ออื่น 4. การหายใจเอาละอองสารน้ำที่มีเชื้อโรคปนเปื้อน และจากชุดอุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจที่ได้รับการทำลายเชื้อที่ไม่เหมาะสม
ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ พบแหล่งของเชื้อจาก • เครื่องทำความชื้นของอากาศ • (Humidifier, Nebulizer) • การปนเปื้อนเชื้อของชุดอุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจ
ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ การใส่ท่อเฃ้าหลอดลมคอ การรักษาในหออภิบาล การใช้ยาต้านจุลชีพ การผ่าตัด โรคปอดเรื้อรัง ผู้สูงอายุ โรคอ้วน ภูมิคุ้มกันโรคต่ำ
กลไกการเกิดการติดเชื้อกลไกการเกิดการติดเชื้อ • Air-borne infection • Blood-borne infection
การวินิจฉัยโรค • อาการและอาการแสดง : ไข้ > 38 c, ไอ เสมหะ • หอบเหนื่อย • การตรวจรังสีทรวงอก : เงาผิดปกติ • การตรวจทางจุลชีววิทยา : ตรวจเพาะเชื้อจากเสมหะ, • การตรวจหา Antibodies
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดปอดอักเสบในโรงพยาบาล (1) 1. การใช้เครื่องช่วยหายใจ มีผลทำให้ 1.1 เกิดการสูดสำลัก จากการจัดท่านอนไม่ถูกต้อง 1.2 การเคลื่อนตัวของ secretions ในทางเดินหายใจไม่สะดวก 1.3 เกิดการคลั่งของ secretion เมื่อ inflate cuff ของท่อช่วย หายใจ 1.4 เกิด Biofilm ภายในท่อช่วยหายใจ 1.5 มีการเพิ่มจำนวนเชื้อโรค จากละอองน้ำในสายต่อเครื่องช่วยหายใจ
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดปอดอักเสบในโรงพยาบาล (2) 2. ระบบภูมิคุ้มกันโรคต่ำ 2.1 อายุมาก 2.2 ความรุนแรงของโรคและโรคที่พบร่วม เช่น เบาหวาน, ไต, หัวใจ ฯลฯ 2.3 ภาวะทุพโภชนาการ 2.4 ระดับความรู้สึกตัวที่ลดลง 2.5 ระยะเวลาที่อยู่ในโรงพยาบาลนานขึ้น
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดปอดอักเสบในโรงพยาบาล (3) 3. มาตรการควบคุมการติดเชื้อที่ไม่เหมาะสม 3.1 การไม่ล้างมือตามคำแนะนำ 3.2 การไม่เปลี่ยนถุงมือ 3.3 การใช้เครื่องมือ, อุปกรณ์ ที่ไม่สะอาด
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดปอดอักเสบในโรงพยาบาล (4) 4. การใช้ยาบางประเภท 4.1 ยาลดภูมิคุ้มกัน 4.2 ยานอนหลับ 4.3 ยาปฏิชีวนะที่ใช้เป็นเวลานาน 4.4 ยาลดกรด
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดปอดอักเสบในโรงพยาบาล (5) 5. อื่น ๆ 5.1 การใส่สายยางให้อาหาร 5.2 การผ่าตัด ทรวงอกหรือช่องท้อง 5.3 มีการอุดกลั้นของหลอดอาหาร 5.4 มีความผิดปกติของสมอง ทำให้กลืนลำบาก
ปัจจัยเสี่ยงต่อการสูดสำลักปัจจัยเสี่ยงต่อการสูดสำลัก • ไม่รู้สึกตัว • การอุดตันของทางเดินอาหาร • อาเจียน • การใส่ท่อเข้ากระเพาะอาหาร • หลังดมยาสลบ