850 likes | 1.08k Views
à¸à¸±à¸žà¹€à¸”ตล่าสุด : 26/07/2551. PHP à¹à¸¥à¸° à¸à¸²à¸£à¹ƒà¸Šà¹‰à¸‡à¸²à¸™ Appserve. โดย à¸. นัà¸à¸žà¸‡à¸¨à¹Œ ส่งเนียม http://www.siam2dev.com. ดาวน์โหลด Appserv. ได้ที่เว็บไซต์ http :// www . appservnetwork . com /. ทดสà¸à¸šà¸à¸²à¸£à¸—ำงานขà¸à¸‡ Appserv. เปิดโปรà¹à¸à¸£à¸¡ Internet Explorer ขึ้นมา ในช่à¸à¸‡ Address ให้พิมพ์
E N D
อัพเดตล่าสุด : 26/07/2551 PHP และการใช้งาน Appserve โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม http://www.siam2dev.com
ดาวน์โหลด Appserv • ได้ที่เว็บไซต์ http://www.appservnetwork.com/
ทดสอบการทำงานของ Appserv • เปิดโปรแกรม Internet Explorer ขึ้นมา • ในช่อง Address ให้พิมพ์ • http://localhost แล้วกด Enter บนคีย์บอร์ด
ทดสอบการทำงานของ PHP <?php echo “Hello World!”; ?> • ให้พิมพ์คำสั่งด้วย Text Editor ใด ๆ ก็ได้ ในที่นี้ ให้ใช้ Notepad • จากนั้นพิมพ์คำสั่งข้างล่าง นี้ • แล้ว Save ตั้งชื่อ Test1.php • เก็บไว้ที่ C:\Appserv\www\Test1.php
ทดสอบการทำงานของ PHP (ต่อ) • เปิดโปรแกรม Internet Explorer ขึ้นมา • ในช่อง Address ให้พิมพ์ http://localhost/test1.php แล้วกด Enter บนคีย์บอร์ด
เนื้อหา • ประวัติของ PHP • PHP คืออะไร • ทำไม PHP จึงเป็นที่นิยม • โครงสร้างของ PHP • Language Reference • ข้อแตกต่างของ PHP กับ ASP
ประวัติ PHP • PHP ย่อมาจาก Professional Home Page • เริ่มสร้างขึ้นในกลางปี 1994 • ผู้พัฒนาคือ นาย Rasmus Lerdorf • ปัจจุบัน PHP มีการพัฒนามาเป็นรุ่นที่ 4 • Version แรกเป็นที่รู้จักในชื่อว่า Personal Homepage Tools ในปี 1994 ถึงกลางปี1995 • Version ที่สองชื่อว่า PHP/FI ในกลางปี 1995 • Version 3 เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า PHP3 เริ่มใช้กลางปี 1997 • ปัจจุบัน Version 4 ถ้าเป็น commercial ใช้ชื่อว่า Zend (Zend ย่อมาจาก Ze(ev) + (A)nd(I Gutmans)
รายชื่อของนักพัฒนาภาษา PHP • Zeev Suraski, Israel • Andi Gutmans, Israel • Shane Caraveo, Florida USA • Stig Bakken, Norway • Andrey Zmievski, Nebraska USA • Sascha Schumann, Dortmund, Germany • Thies C. Arntzen, Hamburg, Germany • Jim Winstead, Los Angeles, USA • Rasmus Lerdorf, North Carolina, USA
PHP คืออะไร • เป็นภาษา Script สำหรับแสดงเว็บเพจอย่างหนึ่ง จัดอยู่ในกลุ่ม Server Side Script เช่นเดียวกับ ASP • การทำงานจะแทรกอยู่ในเอกสาร HTML • สามารถ Compile ได้ทั้งบนระบบปฏิบัติการ UNIX, Windows NT/2000/XP, Windows 9x • ความสามารถในการทำงานสูง โดยเฉพาะกับการติดต่อกับ Database เช่น MySQL, msSQL, Sybase และ PostgreSQL เป็นต้น
สิ่งที่ PHP สามารถทำได้้ • CGI • Database-enable web page • Database Adabas D InterBase Solid DBase mSQL Sybase Empress MySQL Velocis FilePro Oracle Unix dbm Informix PostgreSQL
ทำไม PHP จึงเป็นที่นิยม • Open source • No cost implementation – PHP เป็นของฟรี • Server side • Crossable Platform • HTML embedded • Simple language • Efficiency • XML parsing • Server side • Database module • File I/O • Text processing • Image processing
การทำงานของ PHP • ทำงานบน Server • ทำงานร่วมกับเอกสาร HTML • สามารถแทรกคำสั่ง PHP ได้ตามที่ต้องการลงในเอกสาร HTML • ทำงานในส่วนที่เป็นคำสั่งของ PHP ก่อน เมื่อมีการเรียกใช้เอกสารนั้น ๆ • แสดงผลออกทาง Web Browsers
โครงสร้างภาษา PHP • แบบที่ 1 XML style <?php คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <?php echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?>
โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่ 2 SGML style <?คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <? echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?>
โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่ 3 Java Language style <script language=“php”> คำสั่งภาษา PHP </script> ตัวอย่าง <script language=“php”> echo “Hello World”; </script>
โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่ 4 ASP Style <%คำสั่งภาษา PHP %> ตัวอย่าง <% echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; %>
โครงสร้างของภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่เป็นที่นิยม คือ แบบที่ 1 • ผลที่ได้เมื่อผ่านการทำงานแล้วจะได้ผลดังนี้ Hello World ! I am PHP • ข้อสังเกต - รูปแบบคล้ายกับภาษา C และ Perl - ใช้เครื่องหมาย ( ; ) คั่นระหว่างคำสั่งแต่ละคำสั่ง • File ที่ได้ต้อง save เป็นนามสกุล php (หรือ php3)
Language Reference • Comments - เหมือนกับการ Comment ของภาษา C, C++ และ Unix • ตัวอย่าง <?php echo “Hello !”; // การ comment แบบ 1 บรรทัด /* แบบหลายบรรทัดตั้งแต่ 2 บรรทัดขึ้นไป */ echo “World”; # การ comment แบบ shell-style ?>
http://localhost/Dogspa/Test2.php ชื่อ Folder
คำสั่ง echo • เป็นคำสั่งสำหรับแสดงผลลัพธ์ไปที่โปรแกรม browser • รูปแบบ echo ข้อความ1 หรือตัวแปร1, ข้อความ2 หรือตัวแปร2, ข้อความ3 หรือตัวแปร3, … • ข้อความ เขียนภายใต้เครื่องหมาย double quote (“ “) หรือ single quote (‘ ‘) • ตัวแปรของภาษา PHP จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย $ เสมอ คล้ายกับภาษา Perl
ตัวอย่างที่ 1 Test3.php <HTML> <HEAD> <TITLE>Example –1</TITLE> </HEAD> <BODY> <?php phpinfo() ; ?> </BODY> </HTML> Test3.php
การเรียกใช้งาน • เปิดโปรแกรม browser • พิมพ์ url • http://localhost/demo/intro.php C:\AppServ\www\DogSpa
ตัวอย่างที่ 2(Test4.php) <HTML> <HEAD> <TITLE> Example –2</TITLE> </HEAD> <BODY> Today’s Date:<? print(Date("l F d, Y"));?> </BODY> </HTML> Today's Date: Thursday March 10, 2003
การประกาศใช้ PHP • การที่ตัวแปลคำสั่ง PHP จะทราบว่าส่วนใดจะเป็นส่วนที่จะให้ทำงานในลักษณะของ PHP นั้น ก็จะต้องมีการระบุวงเล็บคำสั่งของ PHP ก่อน • วงเล็บสำหรับ PHP สามารถใช้งานได้ หลายรูปแบบคือ • <?php ?> • <? ?>เป็นการใช้วงเล็บแบบสั้น แต่อาจจะมีการซ้ำซ้อนกัน ถ้าหากต้องการใช้ XML ร่วมด้วย เพราะวงเล็บแบบนี้เป็นการใช้ของ XML เช่นกัน • <% %>เป็นรูปแบบวงเล็บของภาษา ASP ของ Microsoft • <SCRIPT LANGUAGE=”PHP”> </SCRIPT>ใช้ในลักษณะของ Script เหมือนกับ Java Script
หลักการเขียนโปรแกรม php • พื้นฐานเหมือนกับภาษา C • ใช้พื้นที่ว่างได้ โดยการเว้นบรรทัดในขณะที่ยังเขียนคำสั่งต่างๆ ไม่จบประโยคสามารถทำได้ • Case-Sensitive บางกรณี คือ ตัวเล็ก-ตัวใหญ่มีความแตกต่างกันในการอ้างอิงตัวแปร แต่ถ้าเป็นการใช้คำสั่ง เช่น if ก็จะเหมือนกับ IF หรือ function อย่างเช่น empty() อาจจะเขียนเป็น Empty() ก็ได้ • ปิดคำสั่งทุกประโยคด้วย ;
การเขียนให้ข้อมูลแสดงออกหน้าจอการเขียนให้ข้อมูลแสดงออกหน้าจอ ใช้คำสั่ง echo print เช่น echo “สุพัตรา กาญจโนภาส”; หรือ print “สุพัตรา กาญจโนภาส”;
การเชื่อมต่อข้อความหรือตัวแปรการเชื่อมต่อข้อความหรือตัวแปร . (จุด) , (ลุกน้ำ) เช่น echo “สุพัตรา ”. “กาญจโนภาส”; หรือ echo “สุพัตรา ”, “กาญจโนภาส”; คำตอบ สุพัตรา กาญจโนภาส
การ comment โน้ตไว้ดูเองจะไม่แสดงผลออกหน้าจอ - ในกรณีบรรทัดเดียว // ข้อความ เช่น //คำสั่ง echo มีไว้สำหรับการแสดงผลลัพธ์ออกหน้าจอ ในกรณีหลายบรรทัด /* คำสั่ง echo มีไว้สำหรับการแสดง ผลลัพธ์ออกหน้าจอ */ /*ข้อความบรรทัด1 ข้อความบรรทัด2 ข้อความบรรทัด3 */
การขึ้นบรรทัดใหม่ “<br>” (Tag br ) เช่น echo “นัฐพงศ์<br>ส่งเนียม”; echo “นัฐพงศ์”,“<br>”.“ส่งเนียม”; Echo “นัฐพงศ์<br>”; Echo “ส่งเนียม”’ คำตอบ นัฐพงศ์ ส่งเนียม
<?php // Test5.php echo "ชื่อ นัฐพงศ์ <br>" . "ส่งเนียม"; echo "<br> รหัส 497530"; ?>
การกำหนดรูปแบบตัวอักษรการกำหนดรูปแบบตัวอักษร สี ขนาด <font>……..</font> (Tag font) เช่น echo “<font color=‘red’ size=20 face=‘JasmineUPC’>สุพัตรา</font>”; แบบ คำตอบ สุพัตรา
<?php // Test5.php echo "<font color='red' size='30' face='AngsanaUPC'> ชื่อ นัฐพงศ์<br>" . "ส่งเนียม</font>"; echo "<br> รหัส 497530"; ?>
การกำหนดรูปแบบตัวอักษรการกำหนดรูปแบบตัวอักษร ตัวหนา <b>………….</b> ตัวเอียง <i>…………..</i> ตัวขีดเส้นใต้ <u>………….</u> เช่น echo “<b><i><u>สุพัตรา</u></i></b>”; คำตอบ สุพัตรา
คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้คำสั่ง php เขียนข้อความออกมาดังต่อไปนี้ ชื่อ นามสกุล รหัสนักศึกษา สาขาวิชา ภาควิชา ที่อยู่ เบอร์โทร หมายเหตุ (กำหนดรูปแบบและสีสันตามต้องการ)
<?php // Test6.php echo "ชื่อ นัฐพงศ์ นามสกุล : ส่งเนียม<br>"; echo "รหัส 407530<br>"; echo "สาขา Ph.D(IT)<br>"; echo "ที่อยู่ : กรุงเทพ<br>"; echo "มือถือ : 0896698280<br>"; ?>
การตั้งชื่อตัวแปร จะต้องมีเครื่องหมาย $ (dollar sign)ขึ้นนำหน้าชื่อของตัวแปรทุกครั้ง ซึ่งถ้าเห็นเครื่องหมายนี้ แสดงว่ามีการอ้างอิงถึงตัวแปร โดยที่ชื่อของตัวแปรนั้น จะต้องนำหน้าด้วยตัวอักษร และตัวเล็กตัวใหญ่ถือว่ามีความแตกต่างกัน เช่น $name $num $address $productname
การใส่ค่าให้กับตัวแปรการใส่ค่าให้กับตัวแปร ชื่อตัวแปร=“ค่าที่กำหนด” เช่น $name=“สุพัตรา กาญจโนภาส”; $num=1 หรือ $num=“1”;
Test8.php <?php // Test8.php $num =20; echo "$num"; ?>
<?php // Test9.php $a = 5; $b = 10; $sum = $a + $b - $b*$a; echo "$sum"; ?>
การเขียนค่าตัวแปรออกหน้าจอการเขียนค่าตัวแปรออกหน้าจอ echo “ชื่อตัวแปร”; เช่น echo “$name”; echo “$num”;
คำสั่ง ให้นักศึกษานำ รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น ที่อยู่ เบอร์โทร เก็บใส่ตัวแปรดังต่อไปนี้ $code,$name,$surname,$nickname,$address,$tel จากนั้นให้นำค่าจากตัวแปรเหล่านี้แสดงออกมาบนหน้าจอ หมายเหตุ ให้กำหนดรูปแบตัวอักษรตามต้องการ
ตัวแปรแบบ array ตัวแปรแบบ array เป็นตัวแปรแบบชุดที่มีค่าอยู่ภายในหลายค่า $ชื่อตัวแปร=array(“ค่า1”,“ค่า2”,“ค่า3”,………); เช่น $day=array(“อา.”,“จ.”,“อ.”,“พ.”,“พฤ.”,“ศ.”,“ส.”); $sport=array(“ฟุตบอล”,“บาสเก็ตบอล”,“วอลเลย์บอล”);
Test10.php <?php // Test10.php $day =array("อา.","จ.","อ.","พ.","พฤ.","ศ."); echo "$day[2]"; ?>
Test11.php <?php // Test11.php $month =array(“ม.ค.",“ก.พ.",“มี.ค.",“เม.ย.","พ.ค.",“มิ.ย."); echo "$month[2]"; ?>
การเรียกใช้ตัวแปร array Index เป็น 0 Index เป็น 1 Index เป็น 2 $ชื่อตัวแปร=array(“ค่า1”,“ค่า2”,“ค่า3”,………); เรียกโดย $ชื่อตัวแปร[index]; โดยค่าตัวแรกจะมีค่า index เป็น 0 คำตัวที่ 2 จะมีค่า index เป็น 1 ตัวต่อไปก็นับต่อไปเรื่อยๆ
ตัวอย่าง $day=array(“อา.”,“จ.”,“อ.”,“พ.”,“พฤ.”,“ศ.”,“ส.”); $day[0] จะมีค่าเท่ากับ อา. $day[1] จะมีค่าเท่ากับ จ. $day[2] จะมีค่าเท่ากับ อ. $day[3] จะมีค่าเท่ากับ พ. $day[4] จะมีค่าเท่ากับ พฤ. $day[5] จะมีค่าเท่ากับ ศ. $day[6] จะมีค่าเท่ากับ ส.
คำสั่ง ให้นักศึกษานำ รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น ชั้นปี สาขาวิชา ภาควิชา คณะ) ใส่ตัวแปร array ชื่อ $student จากนั้นให้นำค่าจากตัวแปรนี้แสดงออกมาบนหน้าจอดังนี้ รหัส ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น ชั้นปี สาขาวิชา ภาควิชา คณะ หมายเหตุ กำหนดรูปแบบตามต้องการ
ตัวแปรคงที่ define(ชื่อตัวแปรไม่ต้องมี$นำหน้า,“ค่า”); เช่น define(pi, “3.1413”) แสดงบนหน้าจอ echo ชื่อตัวแปร; (ไม่ต้องใส่เครื่องหมายคำพูด) เช่น echo pi;