200 likes | 507 Views
การควบคุมงบประมาณ. งานงบประมาณ 1. ฝ่ายควบคุมงบประมาณ. กองการเงินและบัญชี. แผนภาพสรุปขั้นตอนทั่วไปในการดำเนินการควบคุมงบประมาณ. สำนักงบประมาณ อนุมัติเงินประจำงวด หน่วยงานภายในกองการเงินและบัญชี
E N D
การควบคุมงบประมาณ งานงบประมาณ 1 ฝ่ายควบคุมงบประมาณ กองการเงินและบัญชี
แผนภาพสรุปขั้นตอนทั่วไปในการดำเนินการควบคุมงบประมาณแผนภาพสรุปขั้นตอนทั่วไปในการดำเนินการควบคุมงบประมาณ สำนักงบประมาณ อนุมัติเงินประจำงวด หน่วยงานภายในกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน กองแผนงาน ค่าล่วงเวลา , เบี้ยเลี้ยง, ใบยืมเงินทดรอง , ใบสำคัญต่าง ๆ เอกสารการเบิกจ่ายเงิน แบบโอนลด – โอนเพิ่ม เงินประจำงวด กองการเงิน ฯ ฝ่ายควบคุมงบประมาณ งานประมาณ ดำเนินการควบคุมงบประมาณ ด้วย Cost Sheet ค่าล่วงเวลา , เบี้ยเลี้ยง, ใบยืมเงินทดรอง สัญญา ฯลฯ หน่วยงานเจ้าของงบประมาณ เอกสารการเบิกจ่ายเงิน (กลุ่ม / กอง / สำนัก) พ.ด.01 พ.ด.01 กองพัสดุ
กองการเงินและบัญชี ฝ่ายควบคุมงบประมาณ งป.งบ.1 งป.งบ. 2 งป.งบ. 3 งป.งบ. 4 ควบคุมงบประมาณ ควบคุมงบประมาณ เงินกัน เงินขยาย รายงานสถานะการบิกจ่าย เงินกัน เงินขยาย ในส่วนกลาง ในส่วนกลาง ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ส่วนภูมิภาค
พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 23 ตรี ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจจะจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะ ตามที่ได้กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมหรือตามอำนาจที่มีอยู่ตามกฎหมายอื่น และห้ามมิให้จ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จนกว่าจะได้รับอนุมัติเงินประจำงวดแล้ว กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องมีดังนี้
มาตรา 27 การขอเบิกจ่ายเงินจากคลังตามงบประมาณรายจ่ายประจำปีใดให้กระทำได้แต่เฉพาะในปีงบประมาณนั้น เว้นแต่ 1. เป็นงบประมาณรายจ่ายข้ามปี 2. เป็นงบประมาณรายจ่ายที่ได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปี งบประมาณหรือได้รับอนุมัติให้เบิกเหลื่อมปีและได้มีการกันเงิน ไว้ตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินจากคลัง
หนังสือสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร 0702 /ว 51 ลงวันที่ 20 มกราคม 2548 เรื่อง หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ รายจ่ายตามงบประมาณจำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ 1. รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ หมายถึง รายจ่ายซึ่งกำหนดไว้สำหรับแต่ละส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ จำแนกเป็น 5 ประเภทได้แก่ 1.1 งบบุคลากร 1.2 งบดำเนินงาน 1.3 งบลงทุน 1.4 งบเงินอุดหนุน 1.5 งบรายจ่ายอื่น
2. รายจ่ายงบกลาง หมายถึง รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจัดสรรให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยทั่วไปใช้จ่าย เช่น เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ค่าใช้จ่ายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เป็นต้น
ขั้นตอนทั่วไปในการควบคุมงบประมาณด้วย Cost Sheet 1. ตรวจสอบประเภทของเอกสารและรายละเอียดต่าง ๆ 2. บันทึกรายการเคลื่อนไหวของงบประมาณลงใน Cost Sheet
การตรวจสอบประเภทของเอกสารและรายละเอียดต่าง ๆ ได้แก่ • ตรวจสอบว่าเป็น แผนงบประมาณ / ผลผลิต / โครงการใด • ตรวจสอบรหัส GFMIS ได้แก่ รหัสบัญชีงบประมาณ รหัสกิจกรรมหลัก รหัสงบประมาณ งบรายจ่าย รหัสงาน • ตรวจสอบการเบิกจ่ายให้ถูกต้องตามหลักจำแนกประเภทรายจ่ายของสำนักงบประมาณ
บันทึกรายการเคลื่อนไหวของงบประมาณลงใน Cost Sheet การบันทึกรายการเคลื่อนไหวของงบประมาณลงในใบควบคุมงบประมาณ (Cost Sheet) คือการบันทึกข้อมูลตัวเลขการใช้จ่ายเงินงบประมาณของ กลุ่ม / กอง / สำนัก ต่าง ๆ ที่เป็นเจ้าของงบประมาณ เพื่อเป็นการควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณไม่ให้เกินวงเงินที่ได้รับจัดสรรจากกองแผนงาน ซึ่งได้แก่ข้อมูลตัวเลข เงินประจำงวดที่ได้รับจัดสรร รายการผูกพันแบ่งตามเอกสารการของเบิกจ่ายเงิน จำนวนเงินที่จ่าย ยอดเงินประจำงวดคงเหลือ เป็นต้น
ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลังการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 3 ข้อ 17 ข้อ 17 ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณใด ให้เบิกเงินจากงบประมาณรายจ่ายของปีนั้นไปจ่าย ในกรณีมีเหตุจำเป็นไม่สามารถเบิกจากเงินงบประมาณรายจ่ายของปีนั้นได้ทัน ให้เบิกจากเงินงบประมาณรายจ่ายของปีงบประมาณถัดไปได้ แต่ค่าใช้จ่ายนั้นจะต้องไม่เป็นการก่อหนี้ผูกพันเกินงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับอนุมัติ และให้ปฏิบัติตามวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด
หลักการทั่วไป ศึกษารายละเอียดใบอนุมัติจัดสรร • ใบอนุมัติจัดสรรให้ใช้เพื่อการใด ต้องใช้เพื่อการนั้น เท่านั้น โดยใช้หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ เป็นตัววิเคราะห์ ควบคุมใบอนุมัติจัดสรร ในรายละเอียดทุกรายการได้แก่ • เลขที่หนังสืออนุมัติจัดสรรของกลุ่มวิเคราะห์งบประมาณ • แผนงบประมาณ • ผลผลิต/โครงการ/รายการรายจ่าย • รายการงบประมาณ
หน่วยเบิกจ่าย • ศูนย์ต้นทุน • แหล่งของเงิน • รหัสงบประมาณ • รหัสบัญชีงบประมาณ • รหัสบัญชีแยกประเภท • กิจกรรมหลัก หมายเหตุ งานที่กรมดำเนินการเองให้เบิกจ่ายได้ในลักษณะค่าจ้างชั่วคราว ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุและค่าสาธารณูปโภคโดยให้ถัวจ่ายกันได้
ไม่ใช้เงินเกินใบอนุมัติจัดสรร • ตรวจสอบ POทุกรหัส GFMIS ถูกต้องตรงตามใบจัดสรรเงิน ประจำงวด • การตรวจสอบ ตรวจสอบรหัส GFMIS ทุกรหัส หากพบ ข้อผิดพลาด แจ้งให้กองพัสดุแก้ไขทันที • ตรวจสอบสำเนา ขบ. ทุกรหัส GFMISถูกต้องตรงตามใบอนุมัติ จัดสรรเงินประจำงวด • ตรวจสอบรายจ่าย กับงานงบประมาณ 1 ตลอดเวลาเพื่อให้ยอด รายจ่ายเท่ากับระบบ GFMISเพื่อให้ปลายปีงบประมาณสามารถกันเงินไว้เบิก เหลื่อมปีได้
การจัดทำรายงานสินทรัพย์การจัดทำรายงานสินทรัพย์ 1. สท.1 จัดทำโดยเจ้าของงบประมาณ ได้รหัสสินทรัพย์งานระหว่าง ทำ 13 หลักให้แจ้ง สำนัก/กอง ที่ได้รับจัดสรรและ งานงบประมาณ 1 กองการเงินและบัญชี 2. สท.2 จัดทำโดย งานงบประมาณ 1 กองการเงินและบัญชี 3. สท.3 จัดทำโดย สำนัก / กอง ที่ได้รับจัดสรรเงินประจำงวด พร้อมสำเนา สท.2 แจ้งกลับไปที่เจ้าของงบประมาณ
ขอบคุณค่ะ • งานงบประมาณ 1 • ฝ่ายควบคุมงบประมาณ • กองการเงินและบัญชี • โทร. 02-2436941 , 02-2415655-64 ต่อ 2248