530 likes | 863 Views
การจัดการธุรกิจภายใต้การแข่งขันโลกาภิวัฒน์. โลกแห่งการ เปลี่ยนแปลง : ความเป็นจริงและความท้าทายที่ต้องไม่ลืม. การเปลี่ยนแปลงของอารยธรรมมนุษย์ 2,000 ปี จากอารยธรรมกรีกโบราณ 200 ปี จากการปฏิวัติอุตสาหกรรม 20 ปี จากเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเท่ากัน.
E N D
การจัดการธุรกิจภายใต้การแข่งขันโลกาภิวัฒน์การจัดการธุรกิจภายใต้การแข่งขันโลกาภิวัฒน์
โลกแห่งการเปลี่ยนแปลง: ความเป็นจริงและความท้าทายที่ต้องไม่ลืม การเปลี่ยนแปลงของอารยธรรมมนุษย์ 2,000 ปี จากอารยธรรมกรีกโบราณ 200 ปี จากการปฏิวัติอุตสาหกรรม 20 ปี จากเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเท่ากัน
ลักษณะความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงลักษณะความสำคัญของการเปลี่ยนแปลง Scope Speed Unpredictability โลกแห่งการเปลี่ยนแปลง : ความเป็นจริงและความท้าทายที่ต้องไม่ลืม
ลักษณะความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงลักษณะความสำคัญของการเปลี่ยนแปลง Scope ขอบเขตและประเด็นที่มีผลกระทบต่อองค์กรและต้องทำให้เกิดการปรับตัว เช่น วิกฤต subprime ที่ส่งผลต่อธุรกิจการเงินการธนาคาร โรคไข้หวัด 2009 ที่มีผลกระทบต่อการท่องเที่ยว โลกแห่งการเปลี่ยนแปลง : ความเป็นจริงและความท้าทายที่ต้องไม่ลืม
ลักษณะความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงลักษณะความสำคัญของการเปลี่ยนแปลง Speed ความเร็วของปัจจัยที่ส่งผลต่อองค์กรและต้องให้องค์กรปรับตัว เช่น วิกฤต subprime ที่ใช้เวลาไม่ถึง 6 เดือน กระทบต่อระบบเศรษฐกินโลก โรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ใช้เวลาแค่ 1 เดือน ส่งผลต่อระบบการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ โลกแห่งการเปลี่ยนแปลง : ความเป็นจริงและความท้าทายที่ต้องไม่ลืม
ลักษณะความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงลักษณะความสำคัญของการเปลี่ยนแปลง Unpredictability ปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงที่อยากจะคาดเดาแต่องค์กรต้องมีความไวต่อการปรับตัว โลกแห่งการเปลี่ยนแปลง : ความเป็นจริงและความท้าทายที่ต้องไม่ลืม
สภาพแวดล้อมโลกาภิวัฒน์ของธุรกิจสภาพแวดล้อมโลกาภิวัฒน์ของธุรกิจ • Globalization • กระบวนการที่หลายประเทศในโลกที่มีเศรษฐกิจที่แตกต่างมาเกี่ยวข้องกันรวมทั้งการมีระบบทางการค้าที่กลายสภาพเปรียบเสมือนหนึ่งเดียวที่เป็นระบบที่มีการพึงพาระหว่างกันสูง • Exports: การนำผลิตภัณฑ์ที่ผลิตภายในประเทศส่งออกขายยังต่างประเทศ • Imports: การนำเอาผลิตภัณฑ์ในต่างประเทศมาขายภายในประเทศ
มุมมองโลกาภิวัฒน์ • โลกาภิวัฒน์ (Globalization) • เป็นผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ • แสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • เกิดจากการเคลื่อนย้ายทุนในเศรญฐกิจโลก 4 ประการ • ทุนมนุษย์ • ทุนการเงิน • ทุนทรัพยากร • ทุนอำนาจ
ความท้าทายที่องค์กรต้องเผชิญในกระแสโลกาภิวัฒน์ใน 5 ปีข้างหน้า โครงสร้างประชากร : ผู้สูงอายุมากขึ้น คนในวัยทำงานลดลง คนเกิดน้อยลง อายุ 20 - 59 ปี อายุ 0 - 19 ปี อายุ 60 ปี พ.ศ. 2533 : ผู้สูงอายุเท่ากับ 10%ของคนวัยทำงาน พ.ศ. 2563 : ผู้สูงอายุเท่ากับ 25%ของคนวัยทำงาน *Productivity ของคนวัยทำงานต้องเพิ่มขึ้น (อย่างน้อย) 2.5 เท่า จากปีพ.ศ. 2533 ถึง พ.ศ. 2563
สาเหตุที่ก่อให้เกิดกระแสโลกาภิวัฒน์สาเหตุที่ก่อให้เกิดกระแสโลกาภิวัฒน์ เครื่องมือบริหารใหม่ๆ พฤติกรรมลูกค้า/ประชาชนเปลี่ยนแปลง องค์กรเรา คู่แข่งมากคู่แข่งระดับโลก นโยบายรัฐ การขยายตัวของตลาดกว้างขึ้น เทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์การเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์ Wealth Driven การเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศ FDI/Equity/Bond/Loan Innovation Driven การค้าระหว่างประเทศ WTO/RTA/FTA/ Capital Driven : Capital Mobility Resource Driven: Resource Mobility
การเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์การเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์ • Wealth Driven • เป็นผลจากการไม่เท่าเทียมกันในเรื่องของฐานะและรายได้ของสังคมในประเทศ • ช่องว่างของความมั่นคั่งในแต่ละประเทศเกิดความแตกต่างกันอย่างชัดเจนมากขึ้น • กำลังซื้อในประเทศใหญ่ ๆ อยู่ในช่วงภาวะถดถอย ในขณะที่กำลังซื้อจากประเทศเกิดใหม่หลาย ๆ ประเทศ ในแอฟริกาใต้ เข้ามาแทนที่
การเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์การเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์ • Innovation Driven • เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงและคิดค้นทางด้านนวัตกรรมอย่างรวดเร็ว ทำให้องค์กรต้องปรับตัวให้ทันต่อกระแสโลก • นวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยี เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา เช่น อีเมล์เริ่มมีบทบาทน้อยลงในการติดต่อสื่อสาร แต่ Social network กับเข้ามาแทนที่ • เกิดการผสมผสานระหว่างสินค้ากับเทคโนโลยีใหม่ ๆ อย่างกลมกลืน เช่น Blackberry กับ Facebook ที่ทำให้องค์กรต้องเปลี่ยนวิธีการติดต่อกับลูกค้า เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์การเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์ • Capital Driven • เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงของการโยกย้ายแหล่งทุนได้อย่างอิสระ ทั้งในตลาดทุน และ ตลาดหุ้น • ผลกระทบจากตลาดหุ้นที่สหรัฐ ส่งผลต่อตลาดเอเชียทันที • ราคาทองที่แกว่งตัว ผันผวนในตลาดโลก ส่งผลให้ราคาทองที่เยาวราชผันผวน และ ต้องปิดร้านชั่วคราว เป็นต้น • การตัดสินใจลงทุนของนักลงทุน ในตลาดทองแทนการลงทุนในตลาดน้ำมัน ส่งผลต่อราคาการซื้อขาย การส่งออก และ กำลังการผลิต
การเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์การเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์ • Resource Driven • เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงและการเคลื่อนย้ายของทรัพยากร โดยเฉพาะแรงงาน • ในอีก 5 ปี ข้างหน้า แรงงานในภูมิภาคอาเซียน จะเกิดการจ้างงานอย่างอิสระ และจะมีแรงงานจะประเทศเพื่อนบ้างเข้ามาทำงานในประเทศไทยมากขึ้น • การปรับตัวในยุคโลกาภิวัตน์ ต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาเรื่องของทรัพยากรมนุษย์อย่างมาก
Capital Market/ Asia Bond Market ทุน • Asia Financial Integration • FDI /GATS/ Bank Loan คน • Experts & Skilled & Temporally Unskilled Labour 5 ปี 2010 10 ปี 2015 15 ปี 2020 • Robotic & Bio & Nano เทคโนโลยี • Information & Computing Technology • DOHA/ Regional FTA • Total Trade Liberalization สินค้า • East Asia Economic Community • WTO/ FTA แรงผลักดันในยุคโลการภิวัฒน์
ระดับการแข่งขันในกระแสโลการภิวัฒน์ระดับการแข่งขันในกระแสโลการภิวัฒน์ • รุนแรงน้อย รุนแรงมาก ธุรกิจ ภายในประเทศ ธุรกิจ ระหว่างประเทศ ธุรกิจ ข้ามชาติ ธุรกิจ ระดับโลก
ระดับการดำเนินการธุรกิจระดับการดำเนินการธุรกิจ • ธุรกิจภายในประเทศ (Domestic Business) • เป็นการดำเนินธุรกิจที่ใช้ทรัพยากรทั้งหมดภายในประเทศตั้งแต่การผลิตไปจนการจำหน่าย • ธุรกิจระหว่างประเทศ (International Busienss) • เป็นการดำเนินธุรกิจที่เกิดจากประเทศใดประเทศหนึ่งแล้วมีการแสวงหาทรัพยากรในการดำเนินธุรกิจ หรือ แสวงหากำไรกับประเทศอื่น ๆ
ระดับการดำเนินการธุรกิจระดับการดำเนินการธุรกิจ • ธุรกิจข้ามชาติ (Multinational Business) • เป็นการดำเนินธุรกิจที่มีตลาดอยู่ทั่วโลกโดยมีการซื้อวัตถุดิบ กู้ยืมเงิน และผลิตสินค้าจากต่างประเทศ • ธุรกิจระดับโลก (Global Business) • เป็นการดำเนินธุรกิจข้ามเขตแดนประเทศ หรือ เป็นการดำเนินธุรกิจที่ไม่มีเขตแดนเป็นสิ่งจำกัด • การดำเนินธุรกิจนี้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับประเทศแม่ที่เป็นเจ้าของธุรกิจเพียงประเทศเดียว
สภาพแวดล้อมด้านโลกาภิวัฒน์สภาพแวดล้อมด้านโลกาภิวัฒน์ • สภาพแวดล้อมทางการเมืองและกฏหมาย • เสถียรภาพของรัฐบาล (Government stability) • ผลตอบแทนจากการค้าระหว่างประเทศ (Incentives for international trade) • มาตราการควบคุมเกี่ยวกับธุรกิจระหว่างประเทศ (Controls on International trade) • การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ (Economic Community) • เขตการค้าเสรี (Free trade area) • สหภาพศุลกากร (Customs union) • ตลาดร่วม (Common market)
สภาพแวดล้อมด้านโลกาภิวัฒน์สภาพแวดล้อมด้านโลกาภิวัฒน์ • สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) • สหภาพยุโรป (European Union – EU) ทั้งหมด 6 ประเทศ คือ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม และลักเซมเบอร์ก • สหภาพเศรษฐกิจและการเงินยุโรป (Economic and monetary union – EMU) ทั้งหมด 12 ประเทศ คือ เบลเยี่ยม เยอรมัน กรีซ สเปน ฝรั่งเศส ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบอร์ก เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย โปรตุเกส และฟินแลนด์
สภาพแวดล้อมด้านโลกาภิวัฒน์สภาพแวดล้อมด้านโลกาภิวัฒน์ • สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) • เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (North America Free Trade Area – NAFTA) ทั้งหมด 3 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดา และเม็กซิโก • เขตการค้าเสรีอาเซียน (Asean Free Trade Area – AFTA) • กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจแห่งภูมิภาคเอเซีย แปซิฟิก (APEC) ครอบคลุม 3 ทวิป คือ เอเซีย ออสเตรียเลีย และอเมริกา
สภาพแวดล้อมด้านโลกาภิวัฒน์สภาพแวดล้อมด้านโลกาภิวัฒน์ • สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) • การปะชุมเอเซีย ยุโรป (Asia Europe Meeting – ASEM) ประกอบไปด้วย 10 ประเทศจากเอเซีย • บรูไนดารุสซาลาม อินโดนิเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงค์โปร์ ไทย เวียดนาม จีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี • และ 15 ประเทศจากยุโรป • ออสเตรีย เบลเยี่ยม เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ อิตาลี ไอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปน สวีเดน และสหราชอาณาจักร
สภาพแวดล้อมด้านโลกาภิวัฒน์สภาพแวดล้อมด้านโลกาภิวัฒน์ • สภาพแวดล้อมองค์กรระหว่างประเทศ • ธนาคารโลก (World Bank) • กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF) • GATT (General Agreement on Tariffs and Trade) • องค์การการค้าโลก (World trade organization –WTO) • ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเซีย (Asian Development Bank – ADB) • การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (United Nations Conference on Trade and Development – UNCTAD)
เหตุผลของความจำเป็นในการจัดการธุรกิจในกระแสโลกาภิวัฒน์เหตุผลของความจำเป็นในการจัดการธุรกิจในกระแสโลกาภิวัฒน์ เพื่อความสามารถในการอยู่รอด (Survivability) เพื่อยังคงสร้างมูลค่าเพิ่มแบบเดิม หรือแบบใหม่ (Value Creation) เพื่อความยั่งยืน (Sustainability) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน การพึ่งพาตนเอง (Self Reliability) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน (Competitive Advantage)
วิธีการการจัดการธุรกิจภายใต้การแข่งขันโลกาภิวัฒน์วิธีการการจัดการธุรกิจภายใต้การแข่งขันโลกาภิวัฒน์ กรณีทั่วไป สถานการณ์ ข้อมูลเจาะลึก (ข่าวกรอง) สมมติเป้าหมาย วางแผนการทำงาน หน่วยนำ หน่วยสนับสนุน ติดตามประเมินผล • วัตถุประสงค์ • เป้าหมาย • แผนรวม • แผนปฏิบัติการ • งาน • เงิน • คน • การติดตามประเมินผล
วิธีการการจัดการธุรกิจภายใต้การแข่งขันโลกาภิวัฒน์วิธีการการจัดการธุรกิจภายใต้การแข่งขันโลกาภิวัฒน์ สถานการณ์เป็นรอง—รับ แก้ที่หัวใจของปัญหา จับหัวใจของปัญหา ระดับใหม่ที่รับได้ วางแผนการทำงาน หน่วยนำ หน่วยสนับสนุน ติดตามประเมินผล • ปัญหาเป้าหมาย • แผนรวม • แผนปฏิบัติการ • งาน • เงิน • คน • การติดตามประเมินผล >
วิธีการการจัดการธุรกิจภายใต้การแข่งขันโลกาภิวัฒน์วิธีการการจัดการธุรกิจภายใต้การแข่งขันโลกาภิวัฒน์ สถานการณ์เป็นต่อ—รุก ปรับเพื่อยกระดับ วิเคราะห์โอกาส วางวิสัยทัศน์ ตั้งเป้าหมายสมมติ วางแผนการทำงาน หน่วยนำ หน่วยสนับสนุน ติดตามประเมินผล • โอกาสวิสัยทัศน์ • เป้าหมาย • แผนรวม • แผนปฏิบัติการ • งาน • เงิน • คน • การติดตามประเมินผล >
แรงจูงใจในการทำเข้าสู่การแข่งขันตลาดโลกาภิวัฒน์แรงจูงใจในการทำเข้าสู่การแข่งขันตลาดโลกาภิวัฒน์ • Profit advantage – ความได้เปรียบทางกำไร • Unique products - การมีสินค้าเฉพาะที่ไม่เหมือนใคร • Technological advantage – การมีเทคโนโลยีที่ได้เปรียบในการผลิต • Exclusive information – การมีข้อมูลที่ครบถ้วนและละเอียดกว่าคนอื่น • Managerial commitment – ความผูกพันหรือคำสัญญาของผู้บริหาร • Tax benefits – ผลประโยชน์ด้านภาษีทีจะได้รับจากรัฐบาล • Economies of scale - ความประหยัดจากการผลิตจำนวนมาก
ขั้นตอนในการเข้าสู่การแข่งขันในตลาดโลกาภิวัฒน์ขั้นตอนในการเข้าสู่การแข่งขันในตลาดโลกาภิวัฒน์ • ขั้นตอนการพิจารณาตลาดจากข้างบน (Top View) ได้แก่ การใช้ข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิในการศึกษาตลาด โดยพิจารณาจากปัจจัย 2 หมวด คือ ขนาดของตลาดเป้าหมาย และลักษณะของตลาดเป้าหมาย • ขั้นตอนการลงภาคสนาม (Field Work) ได้แก่ การหาข้อมูลโดยตรงจากตลาดในต่างประเทศ โดยการเดินทางไปยังประเทศเป้าหมายนั้นเอง • การสัมภาษณ์ • การสังเกตการณ์ • การเข้าชมหรือร่วมงานแสดงสินค้า • การพบปะกับลูกค้าที่มีศักยภาพ
ขั้นตอนการพิจารณาตลาด (ต่างประเทศ) เป้าหมาย • ขนาดของตลาด (Market size) • ประชากร • รายได้ • ยอดขายในประเทศนั้น • การนำเข้า • การผลิตภายในประเทศ • ดุลการชำระเงิน • ปริมาณเงินสำรองต่างประเทศ
ขั้นตอนการพิจารณาตลาด (ต่างประเทศ) เป้าหมาย • ลักษณะของตลาด (Market Characteristics) • ความสามารถในการเข้าถึงตลาด • ลักษณะทางกายภาพของประเทศ • นโยบายการนำเข้า • การขอใบอนุญาตนำเข้า • กำแพงภาษีศุลกากร • มาตรการทางการค้าที่มิใช่ภาษีศุลกากร • ภาษีและค่าธรรมเนียมอื่น • การควบคุมปริวรรตเงินตราต่างประเทศ • ภาษีตอบโต้การทุ่มตลาดและภาษีตอบโต้การอุดหนุน • การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค • ลักษณะของตลาด (Market Characteristics) • ความน่าสนใจของตลาด • โครงสร้างพื้นฐาน • คุณลักษณะของตลาด • สภาวะแวดล้อมทางการเมือง • ความใกล้เคียงกันของวัฒนธรรม • ภาษาที่ใช้ • คุณลักษณะเฉพาะของตลาด • ความตกลงพิเศษทางการค้า • อัตราแลกเปลี่ยน
จังหวะเวลาที่ควรเข้าสู่ตลาด (ต่างประเทศ) เป้าหมาย • การเข้าสู่ตลาดเป็นรายแรก (First Mover) • ความได้เปรียบด้านต้นทุน • ความได้เปรียบด้านเทคโนโลยี • ความได้เปรียบด้านพฤติกรรมผู้บริโภค • ความได้เปรียบในการเลือกก่อนคนอื่น • การเข้าสู่ตลาดแบบเป็นผู้ตามรายต้นๆ (Early Follower) มักใช้ในกรณีที่ตลาดของอุตสาหกรรมเป็นแบบผูกขาดน้อยราย เช่น โค้ก เป๊ปซี่ • การเข้าสู่ตลาดเป็นรายหลังๆ (Late Follower) มักใช้ในกรณีที่ตลาดต่างประเทศยังมีความเสี่ยง ความไม่แน่นอนสูงมาก
ช่องทางและกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจช่องทางและกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ • การส่งออกและการนำเข้า (Importing and Exporting) • การใช้สิทธิบัตร (Licensing) • แฟรนไชส์ (Franchise) • การร่วมทุน (Joint Venture) • การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ (Direct Foreign Investment) • การพันธมิตรทางกลยุทธ์ (Strategic Alliance) • สัญญาอื่น ๆ เช่น สัญญาเหมาเบ็ดเสร็จ (Turnkey project), สัญญาความช่วยเหลือทางเทคนิค (Technical-aid agreement), สัญญาทางด้านการจัดการ (Management contract), สัญญาการผลิต (Manufacturing contract)
กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ • การส่งออกและการนำเข้า (Importing and Exporting) • เป็นพื้นฐานในการเจาะตลาดต่างประเทศ โดยการหาคู่ค้าทางธุรกิจที่อยู่นอกประเทศ • อาจจะใช้ตัวแทนจำหน่าย หรือ Trader ในการอำนวยความสะดวก ในการส่งออก หรือ นำเข้าสินค้า
กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ • การใช้สิทธิบัตร (Licensing) • เป็นการขายลิขสิทธิ์ให้กับตัวแทนรายใดรายหนึ่งในประเทศ เพื่อเป็นตัวแทนทางการเพียงเจ้าเดียว • เช่น การได้ลิขสิทธิ์ในการเผยแพร่ภาพยนตร์เกาหลี ของทางมงคลเมเจอร์ เป็นต้น
กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ • แฟรนไชส์ (Franchise) • เป็นการตกลงในการซื้อขายรูปแบบของธุรกิจ สิทธิในการจำหน่ายสินค้า จากผู้จำหน่าย (Franchiser) • ผู้ซื้อสิทธิ (Franchisee) จะต้องทำการจ่ายค่าแฟรนไชส์ ในการเริ่มต้น (Royalty Fee) และเปอร์เซ็นของยอดขายให้กับทาง Franchiser
กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ • การร่วมทุน (Joint Venture) • ธุรกิจตั้งแต่ธุรกิจ 2 ธุรกิจขึ้นไปทำสัญญาที่จะร่วมลงทุนเพื่อดำเนินธุรกิจร่วมกัน • ซึ่งกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการดำเนิน การอย่างชัดเจน เช่น ผลิตหรือจำหน่ายสินค้า หรือดำเนินโครงการใดโครงการหนึ่งร่วมกัน • มีการกำหนดสัดส่วนการถือหุ้น หน้าที่ความรับผิดชอบ และสิทธิของแต่ละฝ่าย รวมถึงการจัดสรรผลประโยชน์
กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ • การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ (Foreign Direct Investment) • บริษัทบริหาร ควบคุม เป็นเจ้าของทรัพย์สินทั้งหมดมีการจัดการควบคุมทรัพย์สิน • ประกอบไปด้วย Host country และ Home country • Host country ประเทศที่รับการลงทุน • Home country ประเทศแม่ที่ไปลงทุน
กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ • การพันธมิตรทางกลยุทธ์ (Strategic Alliance) • บริษัททั้งคู่ตกลงที่จะแบ่งสันข้อมูลลงทุนร่วมกันและปรับปรุงการทำงานต่างๆ ร่วมกันข้อมูลที่คู่พันธมิตร • มีการเปิดเผยและปราศจากความลับระหว่างกันโดยการร่วมมือกัน • ไม่จำเป็นต้องลงทุนเต็มอัตราเพื่อการสร้างกิจการใหม่ เป็นการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ • สัญญาเหมาเบ็ดเสร็จ (Turnkey project) • โครงการที่ผู้ว่าจ้างจะจัดหาผู้รับจ้างดำเนินโครงการจนแล้วเสร็จ จึงมีการชำระเงินค่าดำเนินโครงการ • ผู้รับจ้างอาจต้องมีหน้าที่ในการจัดหาแหล่งเงินทุนเพื่อดำเนิน โครงการด้วย • ผู้ว่าจ้างต้องมีวงเงินดำเนินโครงการอ้างอิงได้ประกอบการพิจารณาโครงการ
กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ • สัญญาความช่วยเหลือทางเทคนิค (Technical-aid agreement) • เป็นสัญญาความรวมมือทางดานเทคนิคระหวางบริษัทแม่หรือบริษัทคู่สัญญา ในเทคนิคเฉพาะทาง • เป็นการขอสิทธิที่บริษัทฯจะไดรับการถายทอดเทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจ
กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ • สัญญาความช่วยเหลือทางเทคนิค (Technical-aid agreement),สัญญาทางด้านการจัดการ (Management contract),สัญญาการผลิต (Manufacturing contract) • เป็นสัญญาความรวมมือทางดานเทคนิคระหวางบริษัทแม่หรือบริษัทคู่สัญญา ในเทคนิคเฉพาะทาง • เป็นการขอสิทธิที่บริษัทฯจะไดรับการถายทอดเทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจ
กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ • กลยุทธ์ของธุรกิจระหว่างประเทศ • การใช้สำนักงานใหญ่เป็นศูนย์กลางทางการจัดการ (Ethnocentric) สินค้าที่ขายในประเทศแม่กับต่างประเทศเป็นสินค้าเดียวกัน และการบริหารงานและกลยุทธ์เหมือนกัน • การกระจายอำนาจการจัดการสู่สาขาแต่ละแห่ง (Polycentric) มีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น • การกระจายอำนาจการจัดการสู่ภูมิภาคต่าง ๆ (Regiocentric) กระจายโครงสร้างการบริหารสู่ภูมิภาค ผลกำไรที่ได้มีการจัดสรรในส่วนสาขาในภูมิภาค • การใช้กลยุทธ์ความเป็นสากล (Geocentric) กำหนดแนวทางในภาพรวมของโลก