660 likes | 836 Views
บนเส้นทางพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยคริสเตียน. ดร . จิรวัฒน์ วีรังกร. คณาจารย์. นักศึกษา. บัณฑิตที่พึงประสงค์. เก่ง ดี มีความสุข ภูมิใจไทย. มหาวิทยาลัยคริสเตียน. ปัจจัยอนาคต. การเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สภาวะแวดล้อม โลกา ภิวัตน์. Change. 21 st Century.
E N D
บนเส้นทางพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดร.จิรวัฒน์ วีรังกร
คณาจารย์ นักศึกษา บัณฑิตที่พึงประสงค์ เก่ง ดี มีความสุข ภูมิใจไทย มหาวิทยาลัยคริสเตียน
ปัจจัยอนาคต การเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สภาวะแวดล้อม โลกาภิวัตน์ Change
21 st Century • โลกที่เชื่อมโยงกัน ส่งผลถึงกัน (สภาวะไร้พรมแดน) * การเมือง * เศรษฐกิจ * ความรู้ / เทคโนโลยี • Cross – Cultural (คลื่นวัฒนธรรมข้ามชาติ) * สภาวะซึมซับ – รับเอา • สภาวะการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (Change) * ความไม่แน่นอน - รู้เท่า รู้ทัน ตามทัน - ภูมิคุ้มกันผู้คน / ประเทศ Strong Thai Culture - ปรับตัว / ปรับปรุง / ปรับเปลี่ยน / ปรับใจ- เรียนรู้ / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ / พัฒนาตนอยู่เสมอ- คิดใหม่ / คิดวิเคราะห์ / คิดจำแนกแยกแยะ
21 st Century(โลกความรู้ที่เปลี่ยนแปลงไป) บัณฑิตศตวรรษที่ 21 • ไฝ่รู้ • สู้งาน • ประสานสัมพันธ์ • มุ่งมั่นประสิทธิภาพและประสิทธิผล • มีอิสระทางความคิด • มีจิตวิจัย ศ.นพ.สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ 2552
Pressure Factorผลกระทบต่อการพัฒนานักศึกษา ปัจจัยภายนอก*Faster Globalization* ไทยก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2558(ASIAN COMMUNITY) ปัจจัยภายใน* นโยบายประเทศไทยน่าอยู่ ของ สกอ. - เสริมสร้างความเป็นพลเมือง* แนวการรับสมัครงานของผู้ประกอบการ * วิกฤตการพัฒนานักศึกษา
Essential 21 st Century Student Skills • Effective Communication : Reading, Presentation, interpersonal skill • Critical Thinking & Problem Solving • Thinking Skill (Creative, Critical, Analysis, Problem solving, futuristic) • Cross – Cultural Understanding • Collaboration , Teamwork , Leadership • Information & Media Literacy • Computing & ICT Literacy • Learning Skill • Life & Social Skill
21 st Century Readiness for every student • Communication Skill • Learning Skill • Life & Social Skill
ประเทศไทยภายใต้ประชาคมอาเซียนประเทศไทยภายใต้ประชาคมอาเซียน • อำนาจอธิปไตยของประเทศอาจลดลง (สละประโยชน์รัฐเพื่อประโยชน์ของ อาเซียน) • ไทยอาจขาดดุลด้านสังคมวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ความเป็นธรรมในสังคม) • ประเด็นแรงงานข้ามชาติ อาจกระทบ การมีงานทำของบัณฑิตไทย • ความเสี่ยงด้านความมั่นคง • ภาษาที่ใช้ในประชาคมอาเซียน คือ อังกฤษ
ปฏิญญาอาเซียนด้านการศึกษาปฏิญญาอาเซียนด้านการศึกษา การเผยแพร่ความรู้ ข่าวสารเกี่ยวกับ อาเซียน การเตรียม นักเรียน นักศึกษา ประชาชนให้มีทักษะที่เหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อม* ภาษาอังกฤษ* ภาษาของประเทศเพื่อนบ้านที่จำเป็น* เทคโนโลยีสารสนเทศ* ทักษะ ความชำนาญที่สอดคล้องกับ การปรับตัว และการเปลี่ยนแปลงทาง อุตสาหกรรม*การเพิ่มโอกาสการหางานของประชาชน* การปรับตัวกับมาตรฐานการทำงานที่เป็นสากล
ปฏิญญาอาเซียนด้านการศึกษาปฏิญญาอาเซียนด้านการศึกษา การพัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อรองรับการ Rotate ของ ผู้เรียน ครู อาจารย์ ใน ASEAN การเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเสรีทางการศึกษาและการเปิดเสรีในการเคลื่อนย้ายแรงงาน การพัฒนาเยาวชนในการก้าวสู่ ASEAN Community
ข้อน่าเป็นห่วง โอกาสทองของคนประเทศเพื่อนบ้าน คนชาติเพื่อนบ้านพูดภาษาไทยได้ แต่คนไทยมีจำนวนน้อย พูดภาษาเพื่อนบ้านได้ บัณฑิตไทยอาจถูกแย่งงานมากขึ้น ค่าจ้างอาจถูกลง ความสนใจประเทศเพื่อนบ้านย่านอาเซียนของนิสิตนักศึกษาไทย (สนใจน้อยมาก)
สถานการณ์ความขัดแย้งของประเทศความเป็นพลเมือง (Citizenship) • สำนึกในหน้าที่และความรับผิดชอบ • ศรัทธาและเชื่อมั่นวิถีประชาธิปไตย • เคารพ (ความเป็นมนุษย์ ความหลากหลาย) • มีส่วนร่วม- ร่วมทุกข์ ร่วมสุข กับสังคม- ร่วมสร้างกติกา และเคารพกติกา- ร่วมสร้างความปรองดองและสมานฉันท์- ร่วมพัฒนา สร้างสรรค์ • จิตสาธารณะ / จิตอาสา • ยึดประโยชน์ของส่วนรวม / ประเทศเป็นสำคัญ
ทิศทางการรับบัณฑิตเข้าทำงานในอนาคต ทิศทางการรับบัณฑิตเข้าทำงานในอนาคต • ตลาดเป็นของนายจ้าง • ต้องการบัณฑิต : ดี พร้อม เก่ง (คิดเป็น + ทำได้)- สารพัดประโยชน์ (สากกะเบือยันเรือรบ)- หลากหลายทักษะ (Multiskill)- ทักษะการสื่อสาร (Effective Communication)- มีประสบการณ์การทำงาน (ทำงานเป็น)- พร้อมทำงานร่วมกับผู้อื่น- สู้งาน (อดทนต่อความยุ่งยาก)- แสดงออกรับผิดชอบสูง- จิตสำนึกบริการ ช่วยเหลือกัน • ควรมีกิจกรรมจิตอาสาเมื่อศึกษาในสถาบัน
10 ปัญหาสำคัญทางวินัยนักศึกษาของนิสิตนักศึกษาไทย • การแต่งกาย • วินัยจราจร • การเสพสุรา สารเสพติด อบายมุข • การไม่ปฏิบัติตามระเบียบของ ม. • การทะเลาะวิวาท / ใช้ความรุนแรง • การทุจริตการสอบ • การเล่นการพนัน • วินัยในการเรียน • พฤติกรรมทางเพศ • วินัยในหอพัก
รากฐานปัญหานักศึกษา มุมมองเชิงอนาคต (ตระหนักถึงสถานการณ์ ที่ไม่แน่นอน) ทักษะการเรียนรู้ การคิด ไม่เพียงพอ แรงจูงใจด้านการเรียนรู้และพัฒนาตนเองไม่เพียงพอ วินัยในตนเอง ภูมิคุ้มกันชีวิตไม่เพียงพอ จิตสำนึกสาธารณะลดลง
การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตในสภาวการณ์ปัจจุบันการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตในสภาวการณ์ปัจจุบัน • การเตรียมผู้เรียนสู่สังคมพหุวัฒนธรรม(Pluralistics Society) • การเตรียมผู้เรียนให้เป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย (Citizenship) • การเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมในการทำงานในโลกโลกาภิวัตน์(Ready to work in Globalization World)
ทิศทางการพัฒนานักศึกษา(พลเมืองไทย + พลเมืองอาเซียน + พลเมืองโลก) • ปรับ Concept การผลิตบัณฑิต • สร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก ในสถานการณ์ “ประชาคมอาเซียน”(Asian View + Global View) • สร้างโอกาสการเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ที่มากกว่าภาษาไทย - อังกฤษ • การสร้างความเป็นพลเมือง + ความสำคัญ ด้าน National Spirit • การเรียนรู้กติกาสากล
ทิศทางการพัฒนานักศึกษา(พลเมืองไทย + พลเมืองอาเซียน + พลเมืองโลก) • ความเข้าใจวัฒนธรรมประเทศเพื่อนบ้าน • พัฒนาสมรรถนะการอยู่ร่วมกันภายใต้สังคม พหุวัฒนธรรม - การปฏิบัติต่อกัน ด้วยความเคารพกัน • เรียนรู้มาตรฐานวิชาชีพร่วมของอาเซียน (บัญชี วิศวกรรมศาสตร์ ทันตแพทย์ แพทยศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ พยาบาล วิชาชีพเหล่านี้สามารถเดินทาง ไปประกอบอาชีพในประเทศต่าง ๆ ของ อาเซียน อย่างเสรี)
ประเด็นท้าทายด้านการพัฒนานักศึกษา1. จะสร้างนักศึกษาอย่างไร ให้มีความรู้ ทักษะ ความคิด การสื่อสาร เพื่อให้นักศึกษาสามารถ อยู่ได้ในสภาวะการดำรงชีวิตและการทำงาน ภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม2. “ความสามารถในการปลูกฝัง” จะเป็นประเด็น สำคัญในอนาคต สถาบันอุดมศึกษาจะมี แนวทางในการสร้างบุคลากรรุ่นใหม่อย่างไร
นักศึกษายุคใหม่ • ต้องใช้ความรู้ที่หลากหลายและประสบการณ์รอบด้านมากกว่าอดีต • สมรรถนะในตัวนักศึกษา คือ ความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาให้เกิดขึ้นในตัวนักศึกษา
บัณฑิตอุดมคติไทย • คนที่จะดำรงชีวิตเป็นคนดีของสังคม • ดูแลตนเองได้ พึ่งตนเองได้ เผื่อแผ่ แก่ผู้อื่น • สามารถเผชิญความเปลี่ยนแปลงรุนแรง และไม่คาดฝันได้ ครั้งแล้วครั้งเล่า • มี learning skill, Adapability • มี life skills, work skills, etc ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
บัณฑิตอุดมคติไทย • เป็นคนดีของสังคม - มีคุณธรรม จริยธรรม - เข้าใจชุมชน สังคมตน วัฒนธรรมอื่น - เคารพเห็นคุณค่าในความแตกต่าง - มีทักษะในการจัดการความขัดแย้ง • - มีทักษะความร่วมมือ ทีม ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
บัณฑิตยุคใหม่ Knowledge Worker & Learning Person
การศึกษายุคใหม่ มุ่งผลสัมฤทธิที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียนที่สามารถวัดได้ สถาบันการศึกษาต้องชี้ให้เห็นได้เกี่ยวกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแก่ผู้เรียน
The Aim of Education is the Development of Characterการศึกษา คือ การพัฒนาบุคลิกอุปนิสัย
Student Characteristics(บุคลิกอุปนิสัย)ความหมาย • ลักษณะบุคลิกของนักศึกษาที่แสดงออกมาเป็นประจำ / สม่ำเสมอ • สะท้อนให้เห็นถึงลักษณะ ธรรมชาติ หรือความเป็นตัวตนของนักศึกษาคนนั้น* นักศึกษาอาจจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวก็ได้* อาจจะมีทั้งส่วนที่ดีและไม่ดีก็ได้
Student Characteristics(บุคลิกอุปนิสัย)ตัวอย่าง • ใฝ่เรียนรู้ • ใจกว้าง / ใจแคบ • กล้าหาญ / ขี้ขลาด • ขยันบากบั่น / ขี้เกียจ • ประหยัด / สุรุ่ยสุร่าย
Character is Destiny(บุคลิกอุปนิสัย คือ ชะตากรรม)ตัวตัดสินความเป็นไปของชีวิตประสบความสำเร็จ / ล้มเหลว
Characteristics ที่มุ่งหวัง • คุณลักษณะพื้นฐานของความเป็นบัณฑิต • คุณลักษณะความเป็นนักวิชาชีพ • คุณลักษณะความเป็นพลเมือง
คุณลักษณะความเป็นนักวิชาชีพ(Professionalism)คุณลักษณะความเป็นนักวิชาชีพ(Professionalism) • ทักษะวิชาชีพ (ทำเป็น ทำได้) • บุคลิกภาพตามกรอบวิชาชีพ • คุณธรรมตามกรอบวิชาชีพ (จรรยาบรรณวิชาชีพ)
Christian Character • อาสา ช่วยเหลือ Volunteer and Helping • รัก สามัคคี Love and Unity • กล้าหาญ เสียสละ Courage and Sacrifice • อดทน อดกลั้น Enduring and Restraint • ซื่อสัตย์ สุจริต Faithfulness and Honesty • ให้อภัย ใจสุภาพ Forgiveness and Politeness • ใส่ใจ ใฝ่รู้ Concentration and Inquisitiveness • ไตร่ตรอง รู้คิด Analytical and Critical Thinking
Christian Character Spirituality Development
คำโบราณท่านสอนว่า หว่านพืชฉันใดย่อมได้ผลฉันนั้น ใช้เวลาเพื่อหว่านสิ่งใด ย่อมได้รับผลตามที่หว่านนั้น สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม
แนวคิด อุปนิสัยสะท้อน ทัศนคติ จิตใจและพฤติกรรม วิธีการสร้างอุปนิสัยไม่มีคำตอบเดียว อุปนิสัยเกิดจากประสบการณ์หลากหลายที่สถาบันจัดขึ้น
All Round Student Developmentการพัฒนารอบด้านของความเป็นมนุษย์
เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติThailand Qualification Frameworkin Higher Education(TQF) 2 กรกฏาคม 2552รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาThailand Qualification Frameworkfor Higher Education กรอบที่แสดงถึงระบบคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศ สาระสำคัญของกรอบประกอบด้วย- มาตรฐานผลการเรียนรู้ (ในแต่ละระดับคุณวุฒิ)- ลักษณะหลักสูตร- ปริมาณการเรียนรู้- การเทียบโอนการเรียนรู้- ระบบกลไกเพื่อสร้างความมั่นใจ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาThailand Qualification Frameworkfor Higher Education • กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Learning Outcome) ของบัณฑิตในระดับอุดมศึกษาทุกระดับ • ประกันมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิต ของสถาบันอุดมศึกษา • เป็นกรอบอ้างอิงในการประกันคุณภาพการศึกษา(การตรวจสอบมาตรฐานคุณวุฒิ) • เป็นกรอบเพื่อการเทียบเคียง เทียบโอนนักศึกษาระหว่างสถาบัน
ระดับคุณวุฒิ • ระดับที่ 1 : อนุปริญญา (3 ปี) • ระดับที่ 2 : ปริญญาตรี • ระดับที่ 3 : ประกาศนียบัตรบัณฑิต • ระดับที่ 4 : ปริญญาโท • ระดับที่ 5 : ประกาศนียบัตรบัณฑิตขั้นสูง • ระดับที่ 6 : ปริญญาเอก
คุณภาพ และ มาตรฐาน TQF ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พึงประสงค์ในแต่ละระดับคุณวุฒิ คุณภาพบัณฑิต ของสถาบัน การแสดงออกของนักศึกษา(Student Performance)
หลักการสำคัญของ TQF • เน้นกำหนด Learning Outcome • ดูคุณภาพที่ Learning Outcome • อิสระสถาบันในการกำหนดและกำกับ
Learning Outcome คือ อะไร Outcome = ผลที่เกิดขึ้น / ผลลัพธ์ Learning = การเรียนรู้ Learning Outcome (ผลลัพธ์การเรียนรู้)= ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการจัดการเรียนรู้= การแสดงออกให้เห็นทางด้านพฤติกรรม ทัศนคติ จิตสำนึก หรือการมีทักษะปฏิบัติ ของนักศึกษา
Learning Outcome คือ อะไร ข้อความ / ประเด็นความมุ่งหวัง- มุ่งพรรณนาผลที่จะเกิดขึ้นแก่ผู้เรียน- มุ่งเน้นสัมฤทธิผลที่จะเกิดขึ้นแก่ผู้เรียน
Learning Outcome ลักษณะผลลัพธ์การเรียนรู้ ข้อความเข้าใจง่าย ชัดเจน ระบุสิ่งซึ่งนักศึกษาถูกมุ่งหวังให้สามารถแสดงออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรม สิ่งซึ่งมุ่งหวังสามารถวัดได้
การระบุ Learning Outcome แสดงออกซึ่งความเข้าใจ แสดงออกซึ่งพฤติกรรมที่มุ่งหวัง แสดงออกซึ่งการมีทักษะ เกิดทัศนคติ ความตระหนัก ทำได้-ทำเป็น / ปฏิบัติได้-ปฏิบัติเป็น ได้คิด ฉุกคิด ย้อนคิด มองเห็นลู่ทาง
มาตรฐานผลการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะเชาวน์ปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร ข้อกำหนดเกี่ยวกับความคาดหวังที่จะให้บัณฑิตได้เรียนรู้และสามารถทำได้หลังสำเร็จการศึกษาแล้ว
Conceptการพัฒนานักศึกษาตามกรอบ TQF มุ่งเน้นการพัฒนานักศึกษาแบบองค์รวมคิดแบบองค์รวม ดำเนินงานแบบบูรณาการ