210 likes | 345 Views
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การบูร ณา การความร่วมมือขับเคลื่อนงาน ป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ปี 255 7 กลุ่ม ๓ โรคติดต่อระหว่าง ประเทศ : แผนพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ และตัวชี้วัดระดับกรมฯ ระหว่าง วันที่ 2 7 – 2 9 พฤศจิกายน 255 6 ณ ห้องประชุมกรุงศรีอยุธยา 2 โรงแรมกรุงศรีริ เวอร์
E N D
การประชุมเชิงปฏิบัติการการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การบูรณาการความร่วมมือขับเคลื่อนงาน ป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ปี 2557 กลุ่ม ๓ โรคติดต่อระหว่างประเทศ: แผนพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ และตัวชี้วัดระดับกรมฯ ระหว่างวันที่ 27 – 29 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุมกรุงศรีอยุธยา 2 โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ผลการประชุมกลุ่ม • 1) เป้าหมายการดำเนินงาน และโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงานร่วมกัน ในปีงบประมาณ 2557 • 2) แนวทางการประสานติดตามตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2557 ระหว่างสำนัก และ สคร. • 3) ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ • 4) กรอบการดำเนินงานพัฒนาด่านช่องทางเข้าออกประเทศปีงบประมาณ 2558
1. เป้าหมายการดำเนินงาน และโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงานร่วมกัน ในปีงบประมาณ 2557
ยุทธศาสตร์ประเทศ-ยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณ-แผนงาน-เป้าหมายปีงบประมาณ 2557 ยุทธศาสตร์ประเทศ (country strategy) ย1.สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ย4. ยุทธศาสตร์ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ยุทธศาสตร์เร่งรัดการพัฒนาประเทศและเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง ระบบบริการสุขภาพมีศักยภาพสามารถรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป้าหมายการให้บริการของกรม ด่านช่องทางเข้าออกประเทศและจังหวัดชายแดนมีระบบเฝ้าระวัง ควบคุมโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่ และภัยสุขภาพได้มาตรฐานกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘ รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ยุทธศาสตร์ประเทศ-ยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณ-แผนงาน-เป้าหมายปีงบประมาณ 2557 ตัวชี้วัด (รายงานสำนักงบประมาณ) จำนวนด่านช่องทางเข้าออกประเทศได้รับารพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘ จำนวนจังหวัดชายแดนที่ได้รับการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อตามแนวชายแดนตามมาตรฐานที่กำหนด กิจกรรมหลัก พัฒนาสมรรถนะด่านช่องทางเข้าออกประเทศ และจังหวัดชายแดนเพื่อรองรับการเข้าสู้ประชาคมอาเซียน
แผนงานโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์อาเซียนแผนงานโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์อาเซียน
แผนงานการรองรับเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กรมควบคุมโรค ช่องทางเข้าออกประเทศและจังหวัดชายแดน มีระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่และภัยสุขภาพได้มาตรฐาน กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 2. มาตรการสนับสนุนการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่และภัยสุขภาพได้มาตรฐานกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 (สำนักระบาดฯ 9.2 ลบ.) 3. จังหวัด/ชายแดนมีระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ได้มาตรฐานตามที่ กรมควบคุมโรคกำหนด (OIC 10.2 ลบ.) 1. ช่องทางเข้าออกประเทศมีสมรรถนะตาม IHR 2005 (สำนัก ต 17.6 ลบ.)
1. ช่องทางเข้าออกประเทศมีสมรรถนะตาม IHR 2005 (สำนัก ต 17.6 ลบ.) 1.1 พัฒนาสมรรถนะหลัก ของช่องทาง 1.2 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันโรค ณ ช่องทางฯ 1.1.1 สมรรถนะหลักในภาวะปกติที่ช่องทางเข้าออกประเทศทุกประเภทที่กำหนด (ภาคผนวก 1ข) 1.1.2 สมรรถนะหลักเพื่อตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่อาจเป็นสาเหตุของภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ พัฒนาสมรรถนะด่าน ได้แก่ สื่อสารภาวะปกติ ภาวะฉุกเฉิน 1.2.1 เฝ้าระวังโรคติดต่อระหว่างประเทศ 1.2.2 เฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงของเหตุการณ์ด้านสาธารณสุขที่ผิดปกติ 1.2.3 เฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสาธารณสุขที่ตรวจจับได้จากการตรวจสอบตามปกติ (สุขาภิบาล ยานพาหนะ สิ่งแวดล้อม และพาหะนำโรคภายในช่องทางฯ)
เป้าหมายการดำเนินงาน5ปีเป้าหมายการดำเนินงาน5ปี
2. แนวทางการประสานติดตามตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2557 ระหว่างสำนัก และ สคร.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงาน กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕5๗ มิติที่ 1 : ระดับความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมายการดำเนินการตามตัวชี้วัดที่สำคัญของกรมควบคุมโรคและภารกิจหลักของหน่วยงาน ตัวชี้วัดระดับกรม ตัวชี้วัดที่ 1.1.12 : ร้อยละของด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด (ใช้ข้อมูลเดียวกับ PSA3_1) ตัวชี้วัดระดับ สคร. ตัวชี้วัดที่ 1.1.12 : ระดับความสำเร็จการดำเนินงานเพื่อพัฒนาตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ.ศ. 2548 ของด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ
ตัวชี้วัดที่ 1.1.12 : ร้อยละของด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด • ด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด หมายถึง ด่านช่องทางเข้าออกประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์ตามคู่มือการประเมินสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และพรมแดนทางบก ที่ประยุกต์มาจากคู่มือการประเมินขององค์การอนามัยโลก (CCAT: Core Capacities Assessment Tools) โดยในปี 2557 วัดที่ระดับคะแนนอย่างน้อยร้อยละ 50 - 80
ตัวชี้วัด (สคร):ระดับความสำเร็จการดำเนินงานเพื่อพัฒนาตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 ของด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ
ตัวชี้วัด (สคร):ระดับความสำเร็จการดำเนินงานเพื่อพัฒนาตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 ของด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ
ปฏิทินการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2557 พ.ค.57 สำนักต.ส่งหนังสือแจ้งขอผลประเมินเพื่อสรุปในภาพรวม
ปฏิทินการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2557 สำนักต.รายงานผลการประเมินในภาพรวม
ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินงาน • ด้านทรัพยากร โครงสร้างพื้นฐาน สถานที่ปฏิบัติงาน • วัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน มีอยู่อย่างจำกัด • ด้านการบังคับใช้กฎหมาย และระเบียบปฏิบัติ • การวิเคราะห์ภารกิจและอัตรากำลัง • ทักษะบุคลากร • ระบบฐานข้อมูล
กรอบการดำเนินงานพัฒนาด่านช่องทางเข้าออกประเทศ ปีงบประมาณ 2558
พัฒนาสมรรถนะหลักของเจ้าพนักงานสาธารณสุขประจำด่านควบคุมโรค และช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ ให้เป็นไปตามข้อกำหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 (IHR 2005) • พัฒนาบุคลากรทั้งเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ และหน่วยงานภายในช่องทางที่เกี่ยวข้อง (เช่น การประชุม/อบรมพัฒนาสมรรถนะฯ ) • พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ ตามข้อกำหนดของ IHR 2005 • พัฒนาฐานข้อมูลระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อระหว่างประเทศ (ฐานข้อมูลเอกสารรับรองการได้รับวัคซีน) • เพิ่มกรอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคฯ • สนับสนุนการปฏิบัติงานของด่านฯ (การเฝ้าระวังสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม, พาหะนำโรค,)
กรอบการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2558(ต่อ) ติดตาม ประเมินฯ การพัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศตามข้อกำหนดของ IHR 2005 ของด่านควบคุมโรคฯ ทั่วประเทศ (สังกัดสคร.และสสจ.) จัดทำ/ ปรับปรุง/ ทบทวน/ ซ้อมแผนเตรียมความพร้อมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ จัดทำเอกสารวิชาการ คู่มือ แนวทาง แบบรายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ การสนับสนุนการเฝ้าระวังโรค ดูแลสุขภาพและสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคติดต่อระหว่างประเทศแก่ชาวไทยมุสลิมที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ ศึกษาดูงานต่างประเทศ เกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ