510 likes | 1.36k Views
CHAPTER 16. Scheduling การจัดกำหนดการ. ลำดับขั้นตอนการวางแผนการผลิต. แผนการผลิตรวม. ตารางการผลิตหลัก. แผนความต้องการวัสดุ. การจัดกำหนดการ. การจัดลำดับงาน (Sequencing). งานใดมอบหมายมาก่อนให้ทำก่อน (first-come first-served, FCFS)
E N D
CHAPTER 16 Scheduling การจัดกำหนดการ
ลำดับขั้นตอนการวางแผนการผลิตลำดับขั้นตอนการวางแผนการผลิต แผนการผลิตรวม ตารางการผลิตหลัก แผนความต้องการวัสดุ การจัดกำหนดการ
การจัดลำดับงาน (Sequencing) • งานใดมอบหมายมาก่อนให้ทำก่อน (first-come first-served, FCFS) • งานใดมอบหมายมาทีหลังให้ทำก่อน (last-come first served, LCFS) • งานใดที่ถึงกำหนดส่งงานก่อนให้ทำก่อน (earliest due date, EDD) • งานใดที่มีความสำคัญมากให้ทำก่อน (highest customer priority, CUSTPR) • งานใดที่มีการปรับตั้งเครื่องจักรคล้ายกับงานที่กำลังทำอยู่ให้ทำก่อน (SETUP) • งานใดที่มีเวลาที่ล่าช้าได้ (SLACK) น้อยที่สุดให้ทำก่อน โดย เวลาที่ล่าช้า (Slack) = (วันที่กำหนดส่งงาน – วันที่วันนี้) – เวลาที่ใช้ทำงานนั้น
การจัดลำดับงาน (Sequencing) • งานใดที่มีอัตราส่วนวิกฤตน้อยที่สุดให้ทำก่อน (Critical ratio, CR) โดย CR คือ เวลาที่เหลือ = วันที่กำหนดส่งงาน – วันที่วันนี้ งานที่เหลือ เวลาการทำงานที่เหลือ ถ้า CR มีค่าน้อยกว่า 1 แสดงว่างานนั้นจะเสร็จหลังกำหนด ถ้า CR มีค่ามากกว่า 1 แสดงว่างานนั้นเสร็จภายในกำหนด ถ้า CR มีค่าเท่ากับ 1 แสดงว่างานนั้นเสร็จในวันส่งพอดี • งานใดใช้เวลาทำสั้นที่สุดให้ทำก่อน (shortest processing time, SPT) • งานใดใช้เวลาทำนานที่สุดให้ทำก่อน (longest processing time, LPT)
ดัชนีวัดการมอบหมายงานดัชนีวัดการมอบหมายงาน • เวลาที่ใช้ในการทำงานจนเสร็จ (completion time or flow time) • เวลางานล่าช้า (tardiness) คือ ผลต่างระหว่างวันกำหนดส่งและวันที่ทำงานเสร็จจริง
การจัดลำดับงาน (Sequencing) • การจัดลำดับงานเมื่อมีงาน n งาน สำหรับคน/เครื่องจักร 1 เครื่อง • การจัดลำดับงานเมื่อมีงาน nงาน สำหรับคน/เครื่องจักร m เครื่อง • การจัดลำดับงานเมื่อมีงาน nงาน ที่จะต้องผ่านคน/เครื่องจักร 2 เครื่องตามลำดับ
ตัวอย่าง นักศึกษาคนหนึ่งมีรายงานที่จะต้องทำ 5 งาน คือ A, B, C, D และ E (เรียงตามลำดับที่อาจารย์สั่งงาน) โดยมีกำหนดส่งในวันที่ 22, 7, 11, 20 และ 9 ตามลำดับ เนื่องจากความยากง่ายต่างกัน นักศึกษาจึงประมาณการเวลาที่จะใช้ในการทำรายงานคือ 9, 3, 5, 6 และ 2 วัน นักศึกษาควรจัดลำดับงานอย่างไร ถ้าพิจารณากฎดังนี้ • First-come first serve (FCFS) • Earliest due date (EDD) • Minimum slack (SLACK) • Shortest processing time (SPT) • Critical ratio (CR)
ตัวอย่าง นักศึกษาคนหนึ่งมีรายงานที่จะต้องทำ 5 งาน คือ A, B, C, D และ E (เรียงตามลำดับที่อาจารย์สั่งงาน) โดยมีกำหนดส่งในวันที่ 22, 7, 11, 20 และ 9 ตามลำดับ เนื่องจากความยากง่ายต่างกัน นักศึกษาจึงประมาณการเวลาที่จะใช้ในการทำรายงานคือ 9, 3, 5, 6 และ 2 วัน
5. Critical ratio (CR) ควรทำ C เป็นงานแรก ใช้เวลา 5 วัน ควรทำ B เป็นงานต่อไป ใช้เวลา 3 วัน เสร็จวันที่ 8
5. Critical ratio (CR) ควรทำ E เป็นงานต่อไป ใช้เวลา 2 วัน เสร็จวันที่ 10 ควรทำ A เป็นงานต่อไป ใช้เวลา 9 วัน เสร็จวันที่ 19
เปรียบเทียบการจัดลำดับ 5 แบบ SPT EDD SLACK CR FCFS
กฎในการเลือกการจัดการลำดับงานกฎในการเลือกการจัดการลำดับงาน • FCFS เหมาะในกรณีที่มีกำลังการผลิตเหลือไม่เหมาะในกรณีมีเวลาจำกัด • EDD เหมาะในกรณีที่สามารถยอมรับการทำงานล่าช้าเล็กน้อย • SLACK ควรใช้ในกรณีดำเนินงานตามปกติ • LPT นำมาใช้ในกรณีมีการคาดการณ์ไว้ล่วงหน้า • SPT นำมาใช้กรณีมีงานแออัดมาก โดยทำงานที่สั้นก่อน
การจัดลำดับงาน (Sequencing) • การจัดลำดับงานเมื่อมีงาน n งาน สำหรับคน/เครื่องจักร 1 เครื่อง • การจัดลำดับงานเมื่อมีงาน nงาน สำหรับคน/เครื่องจักร m เครื่อง • การจัดลำดับงานเมื่อมีงาน nงาน ที่จะต้องผ่านคน/เครื่องจักร 2 เครื่องตามลำดับ
ตัวอย่าง จงจัดตารางการผลิตของงาน 10 งาน บนหน่วยผลิต 3 หน่วยที่เหมือนกัน โดยวิธีต่างๆ ดังนี้ • Shortest processing time (SPT) • Longest processing time (LPT) • Earliest due date (EDD) • Minimum slack (SLACK)
1. Shortest processing time (SPT) 3 1 5 3 10 9 2 หน่วยผลิต 2 6 7 8 4 1 2 4 6 8 10 12 14 16 18
2. Longest processing time (LPT) 2 1 3 10 3 5 8 7 หน่วยผลิต 2 4 9 6 1 2 4 6 8 10 12 14 16 18
2. Longest processing time (LPT) เรียงลำดับงานในแต่ละเครื่องใหม่ โดยเรียงจากมากไปหาน้อย 10 3 1 2 3 7 8 5 หน่วยผลิต 2 3 2 1 3 10 6 9 4 1 หน่วยผลิต 2 5 8 7 2 4 6 8 10 12 14 16 18 1 4 9 6 2 4 6 8 10 12 14 16 18
3. Earliest due date (EDD) 1 5 9 3 หน่วยผลิต 2 10 2 4 1 6 7 8 3 2 4 6 8 10 12 14 16 18
4. Minimum slack (SLACK) 6 4 10 9 3 2 7 8 หน่วยผลิต 2 1 5 3 1 2 4 6 8 10 12 14 16 18
เปรียบเทียบการจัดลำดับ 4 แบบ
การจัดลำดับงาน (Sequencing) การจัดลำดับงาน กรณีมีงานหลายงานที่ต้องผ่านการทำงานโดย คน/เครื่องจักรสองเครื่องตามลำดับ สามารถทำได้โดยวิธีจอนห์สัน ดังนี้ • เวลาในการทำงาน (รวมเวลาทำงานจริงและเวลาตั่งเครื่องจักร) ต้องเป็นค่าคงที่ • เวลาการทำงานต้องเป็นอิสระต่อลำดับการทำงาน • งานทุกงานต้องผ่านทั้งสองขั้นตอนตามลำดับเหมือน ๆ กัน • ไม่สามารถใช้ลำดับความสำคัญของงานมาจัดลำดับได้ • ชิ้นงานทุกชิ้นในการทำงานแรกต้องเสร็จทุกชิ้นก่อน จึงผ่านไปลำดับต่อไปได้
ตัวอย่าง งาน 5 งานซึ่งต้องผ่านขั้นตอนการผลิตในสองสถานีงานต่อเนื่องกันจัดลำดับงานที่จะทำให้เวลาทำงานเสร็จรวมต่ำที่สุด โดยกำหนดเวลาการทำงานแต่ละงานดังนี้
งานแรกที่มีเวลาทำงานต่ำที่สุด B อยู่สถานีงานที่ 2 • งานที่มีเวลาทำงานรองมา A อยู่สถานีงานที่ 1 • งานที่มีเวลาทำงานรองมา C และ D เท่ากันอยู่สถานีงานที่ 1 และ 2 • งานที่เหลือ E อยู่สถานีงานที่ 2
Sequencing 6 13 23 35 43 33 6 17 25 35 42 45 ดังนั้น เวลาที่ใช้ทำงานทั้งหมด 5 งานจนเสร็จอยู่ที่ 45 ชั่วโมง วิธีนี้เหมาะในการหาเวลาโดยรวมและเวลาว่างงานสั้นสุด แต่ไม่ได้คำนึงว่าจะสามารถผลิตได้ทันเวลาตามกำหนดส่งงานหรือไม่
บริษัทแห่งหนึ่งรับงานมา 5 งาน โดยแต่ละงานจะต้องผ่าน 2 เครื่องจักร มีเครื่องเจาะและเครื่องกลึง เวลาที่ใช้ดังตาราง
0 3 10 20 28 33 35 0 3 9 10 22 29 33