250 likes | 390 Views
สภาวะแวดล้อมและกลยุทธ์ทางการตลาด. ตอนที่ 1. สภาวะแวดล้อมทางการตลาดทั่วไปมี 2 กลุ่ม 1. สภาวะแวดล้อมจุลภาค 2. สภาวะแวดล้อม มห ภาค. สภาวะแวดล้อมจุลภาค. เป็นสภาวะแวดล้อมที่ที่กิจการสามารถควบคุมได้ที่อยู่ใกล้ชิดกับกิจการมากที่สุด เช่น สภาวะแวดล้อมภายในกิจการ สภาวะแวดล้อมส่วนประสมทางการตลาด.
E N D
สภาวะแวดล้อมและกลยุทธ์ทางการตลาดสภาวะแวดล้อมและกลยุทธ์ทางการตลาด
สภาวะแวดล้อมทางการตลาดทั่วไปมี 2 กลุ่ม 1.สภาวะแวดล้อมจุลภาค 2.สภาวะแวดล้อมมหภาค
สภาวะแวดล้อมจุลภาค เป็นสภาวะแวดล้อมที่ที่กิจการสามารถควบคุมได้ที่อยู่ใกล้ชิดกับกิจการมากที่สุด เช่น สภาวะแวดล้อมภายในกิจการ สภาวะแวดล้อมส่วนประสมทางการตลาด
สภาวะแวดล้อมทั่วๆไปภายในกิจการสภาวะแวดล้อมทั่วๆไปภายในกิจการ 1. นโยบาย เป็นแนวทางที่ใช้ยึดถือปฏิบัติของธุรกิจที่ถูกกำหนดโดยผู้บริหารระดับสูงขององค์กรนั้นๆ 2. เป้าหมายขององค์กร กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินธุรกิจ มี 3 ประการคือ 2.1 ต้องการความเจริญเติบโตหรือต้องการความอยู่รอดของกิจการ
2.2 ต้องการผลตอบแทนจากการลงทุน หรือผลกำไรตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 2.3 ต้องการสร้างสรรค์สังคมในทางที่ดี 3. เป้าหมายทางการตลาด เป็นการกำหนดเป้าหมายเพื่อสนับสนุนเป้าหมายขององค์การอีกต่อหนึ่ง 4. ตลาดป้าหมาย เป็นกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่นักการตลาดต้องการที่จะเข้าถึง
สภาวะแวดล้อมส่วนผสมทางการตลาดสภาวะแวดล้อมส่วนผสมทางการตลาด 1. ส่วนผสมผลิตภัณฑ์ (Product mix) 2. ส่วนประสมการจัดจำหน่าย (Place mix) 3. ส่วนประสมราคา (Price mix) 4. ส่วนประสมการส่งเสริมการตลาด (Promotion mix) 5. ส่วนประสมเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology mix)
สภาวะแวดล้อมจุลภาคอื่นสภาวะแวดล้อมจุลภาคอื่น 1. ผู้จำหน่ายวัสดุ (Suppliers) 2. คนกลาง (Middlemen) 3. ลูกค้า (Customer) 4. กลุ่มสาธารณชน (Publics)
สภาวะแวดล้อมมหภาค 1. สภาวะแวดล้อมทางวัฒนธรรมและสังคม ประกอบด้วย 1.1 สภาวะแวดล้อมทางวัฒนธรรม 1.2 สภาวะแวดล้อมทางสังคม 1.3 สภาวะแวดล้อมทางด้านประชากร
2. สภาวะแวดล้อมทางการเมืองและกฎหมาย ประกอบด้วย 2.1 แนวโน้มของรัฐบาล 2.2 ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง 2.3 กฎหมายและข้อห้ามทางการเมือง
3. สภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจ 3.1 รายได้ประชาชาติ 3.2 สภาวะเงินเฟ้อและเงินฝืด 3.3 การใช้จ่ายและสินเชื่อของผู้บริโภค 4. การดำรงอยู่ของโครงสร้างทางธุรกิจ 4.1 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีใหม่ๆ 4.2 การวิจัยผลิตภัณฑ์
5. ทรัพยากรและวัตถุประสงค์ของกิจการ 5.1 ความมั่นคงทางการเงิน 5.2 วัตถุดิบ 5.3 ทำเลที่ตั้งและขนาดของโรงงาน 5.4 สิทธิบัตร 5.5 ภาพพจน์ของสินค้า 5.6 บุคคล 5.7 ท่าที่ของผู้บริหาร 5.8 วัตถุประสงค์ขององค์การธุรกิจ
6. สภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติ 7. สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี ประกอบด้วย 7.1 เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคสูงขึ้น 7.2 เกิดผลกระทบต่อสินค้าเก่า 7.3 ใช้เป็นเครื่องมือช่วยบริหารการตลาด
8. สภาวะแวดล้อมทางการแข่งขัน 8.1 การช่วงชิงความปรารถนา 8.2 การช่วงชิงระดับตราสินค้า 8.3 การช่วงชิงของคู่แข่งขันที่เข้ามาใหม่ 8.4 การช่วงชิงอำนาจต่อรองของผู้ขายปัจจัยการ ผลิต 8.5 การช่วงชิงอำนาจต่อรองของผู้บริโภค 8.6 การช่วงชิงตลาดของสินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้ 8.7 การช่วงชิงการแข่งขันของธุรกิจเดิม
กลยุทธ์ทางการตลาดกับสภาวะแวดล้อมทั้งระดับจุลภาคและมหภาคกลยุทธ์ทางการตลาดกับสภาวะแวดล้อมทั้งระดับจุลภาคและมหภาค กลยุทธ์ทางการตลาด กับสภาวะแวดล้อมทั้งระดับจุลภาคและมหภาค ทั้ง 2 กลุ่มนี้มีผลต่อการบริหารกิจการของธุรกิจที่แตกต่างกันไป
กลยุทธ์สร้างความแตกต่างทางการแข่งขันด้วยการพัฒนาสินค้ากลยุทธ์สร้างความแตกต่างทางการแข่งขันด้วยการพัฒนาสินค้า 1. สร้างความแตกต่างทางกายภาพ 2. สร้างความแตกต่างทางด้านคุณภาพของการให้บริการ 3. สร้างภาพลักษณ์รวมที่ดี 4. ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีกับการบริการ 4.1 ทุกจุดของงานมีคอมพิวเตอร์ 4.2 มีการเชื่อมโยงโครงข่ายจุดงานหลายๆจุดงาน 4.3 ใช้เครื่องจับภาพด้วยแสง ควบคุมการผลิต การตลาด การบริหาร
5. สร้างชื่อเสียงที่ดีต่อกิจการให้เป็นที่รู้จักต่อบุคคลทั่วไป 5.1 สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เน้นการบริการ 5.2 สร้างวิสัยทัศน์ในการให้บริการที่ดี 5.3 สร้างระบบสนับสนุนช่วยเหลือทั่วทั้งองค์กร 5.4 มีนโยบายที่เป็นลายลักษณ์อักษร 5.5 มอบงานและอำนาจการตัดสินใจให้พนักงาน 5.6 พัฒนาบุคลากรอย่างสม่ำเสมอ 5.7 สร้างโปรแกรมบริการให้มีอยู่ในแผนการตลาด
5.8 สรรหาบุคลากรที่มีคุณภาพ 5.9 ยอมรับค่าใช้จ่ายบางประการ 5.10 ยกย่องเชิดชูพนักงานและลูกค้าที่ดี ด้วยการให้รางวัล 5.11 สร้างมาตรฐานที่ใช้เป็นตัววัดการบริหารของกิจการ 5.12 สับเปลี่ยนพนักงานในหน้าที่ต่างๆ 5.13 สร้างระบบบริการที่ง่ายและรวดเร็ว 5.14 สร้างระบบแก้ปัญหาหรือข้อร้องเรียนที่สมบูรณ์แบบ
5.15 ข้อมูลย้อนกลับจากลูกค้า 5.16 ข้อมูลความคิดเห็นของพนักงาน 5.17 ใช้ลูกค้าเก่าที่มีชื่อเสียงช่วยประชาสัมพันธ์กิจการ 5.18 สร้างโปรแกรมคืนกำไรให้ลูกค้า 5.19 จัดทำสิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม 6. ผลิตสินค้าหรือบริการให้มีคุณภาพดีอย่างสม่ำเสมอ 7. ใช้เครื่องแสดงสถานภาพของสินค้า
กลยุทธ์สร้างความแตกต่างทางการแข่งขันด้วยการลดต้นทุนการผลิตกลยุทธ์สร้างความแตกต่างทางการแข่งขันด้วยการลดต้นทุนการผลิต 1. เพิ่มปริมาณการผลิต 2. คัดสรรและรักษาพนักงานที่ทำงานดี 3. ใช้ทรัพยากรขององค์การร่วมกันด้วยวิธีการต่างๆ 4. สร้างความสัมพันธ์ 5. ใช้องค์กรร่วมกัน 6. ลงทุนร่วมกันระหว่างผู้ผลิตกับผู้ขาย
7. ชิงความรวดเร็วในการออกผลิตภัณฑ์ก่อนคู่แข่งขัน รายอื่นๆ 8. ผลิตสินค้าพื้นฐานที่มีลักษณะเหมือนกัน 9. ผลิตสินค้าพื้นฐานที่มีลักษณะคล้ายกัน 10. ผลิตสินค้ามุ่งตลาดเล็กหรือตลาดเฉพาะกลุ่ม
กลยุทธ์สร้างความแตกต่างทางการแข่งขันด้วยการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างรวดเร็วกลยุทธ์สร้างความแตกต่างทางการแข่งขันด้วยการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างรวดเร็ว 1. วิจัยพัฒนาสินค้าใหม่ๆ 2. ผลิตสินค้าตามคำสั่งของลูกค้า 3. ปรับปรุงสินค้าหรือบริการที่มีอยู่ให้ดีขึ้น 4. ปรับปรุงเครื่องมือทางกรตลาดหรือกลยุทธ์ที่เหมาะสม 5. ข้อได้เปรียบในการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างรวดเร็ว 5.1 หลีกเลี่ยงการตอบโต้แบบตัวต่อตัวของคู่แข่งขัน 5.2 ความโดดเด่นในสินค้าใหม่ๆ 5.3 มีอำนาจต่อรองสูง
กลยุทธ์สร้างความแตกต่างทางการแข่งขันด้วยการมุ่งตลาดเฉพาะส่วนกลยุทธ์สร้างความแตกต่างทางการแข่งขันด้วยการมุ่งตลาดเฉพาะส่วน 1. มุ่งตลาดท้องถิ่น 2. มุ่งตลาดเฉพาะบุคคลหรือเฉพาะกลุ่มลูกค้า 3. มุ่งตลาดธุรกิจเฉพาะรายใดรายหนึ่ง