670 likes | 1.01k Views
การวางแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ. อริยะ บุญงามชัยรัตน์ , DrPH , MHSA กองแผนงาน กรม ควบคุมโรค. กรอบการเรียนรู้. ทำไมต้องวางแผน การตอบสนองของแผน บริบทของสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ Vs แผนปฏิบัติการ ข้อมูลเพื่อการวางแผน แนวทางการวิเคราะห์เพื่อการจัดทำแผน. ทำไมต้องวางแผน. planning.
E N D
การวางแผนยุทธศาสตร์สุขภาพการวางแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ อริยะ บุญงามชัยรัตน์, DrPH, MHSA กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กรอบการเรียนรู้ • ทำไมต้องวางแผน • การตอบสนองของแผน บริบทของสาธารณสุข • แผนยุทธศาสตร์ Vs แผนปฏิบัติการ • ข้อมูลเพื่อการวางแผน • แนวทางการวิเคราะห์เพื่อการจัดทำแผน
แผน กับการแก้ปัญหาสาธารณสุข
Two Tiers Concept: Individual Health Medicine Curative (การแพทย์) ( รักษา ) The Best Community Health Public Health Prevention ( การสาธารณสุข ) ( ป้องกัน ) The Most
The Excellent Organization • Leadership • Strategic Planning • Team working • HRD (Human Resources Development) • Knowledge Management & Learning Organization • Tools & Technologies • Others
Source of Knowledge Data Information Knowledge Wisdom ข้อมูลดิบ ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ภูมิปัญญา Context : Operation Purpose : Processing Context : Managerial Purpose : Decision Making Context : Strategy Purpose : Setting Direction Imagination จินตนาการ
แนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ฉบับที่ 11 บริบทที่เปลี่ยนแปลง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลการประเมิน แผนฯ 10 แผนฯ 11
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (ต่อ) วิสัยทัศน์ “ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี ร่วมสร้างระบบสุขภาพพอเพียง เป็นธรรม นำสู่สังคมสุขภาวะ” พันธกิจ พัฒนาระบบสุขภาพพอเพียงโดยยึดหลักธรรมาภิบาล สร้างภูมิคุ้มกันต่อภัยคุกคาม และสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน รวมถึงการใช้ภูมิปัญญาไทย ที่มา: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (ต่อ) เป้าประสงค์ 1. ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย มีศักยภาพและสามารถสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค ลดการเจ็บป่วยจากโรคที่ป้องกันได้หรือโรคที่เกิดจากพฤติกรรม มีการใช้ภูมิปัญญาไทยและมีส่วนร่วมจัดการปัญหาสุขภาพของตนเองและสังคมได้ 2. ระบบสุขภาพเชิงรุกที่มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค มีระบบภูมิคุ้มกัน ที่มีความไวเพียงพอในการเตือนภัย และจัดการปัญหาภัยคุกคามสุขภาพได้ 3. ระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน สามารถตอบสนองต่อความต้องการตามปัญหาสุขภาพ และมีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการ 4. ระบบบริหารจัดการสุขภาพและการเงินการคลังที่มีเอกภาพและมีประสิทธิภาพ ที่มา: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีสุขภาพในการสร้างสุขภาพ ตลอดจนการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพบนพื้นฐานภูมิปัญญาไทย ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาระบบเฝ้าระวัง เตือนภัย และการจัดการภัยพิบัติและภัยสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 : มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน ควบคุมโรค และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เพื่อให้คนไทยแข็งแรงทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา ยุทธศาสตร์ที่ 4 : เสริมสร้างระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานในทุกระดับเพื่อตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพในทุกกลุ่มเป้าหมาย และพัฒนาระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 5 : สร้างกลไกกลางระดับชาติในการดูแลระบบบริการสุขภาพ และพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ
ระบบการดำเนินงานบริการสาธารณสุขระบบการดำเนินงานบริการสาธารณสุข ระดับนโยบาย ส่วนกลางกับระดับปฏิบัติ ส่วนกลางกับระดับชุมชน ระดับปฏิบัติ ระดับปฏิบัติกับระดับชุมชน ระดับชุมชน ที่มา: ปรับจาก M&E PP สุริยะ วงศ์คงคาเทพ (2554)
ระบบการดำเนินงานบริการสาธารณสุขระบบการดำเนินงานบริการสาธารณสุข ระดับส่วนกลาง สปสช. กสธ. หน่วยงานอื่น เขต สปสช. เขตสุขภาพ ระดับปฏิบัติ จังหวัด/อำเภอ/ตำบล อปท. องค์กรชุมชน ระดับชุมชน ที่มา: ปรับจาก M&E PP สุริยะ วงศ์คงคาเทพ (2554)
การตอบสนองของแผน นโยบาย ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด ประเทศ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด (บูรณาการแผนทุกภาคส่วน) สภาพปัญหาในพื้นที่ ที่มา: ปรับจาก M&E PP สุริยะ วงศ์คงคาเทพ (2554)
แผนบูรณาการเชิงรุก แผนยุทธศาสตร์ เห็นทิศทางในภาพรวม เน้นปัญหาสำคัญ แผนแก้ปัญหา จัดกลุ่มปัญหา / บูรณาการ แต่ละปัญหามีกลยุทธ์ / มาตรการชัดเจน แผนปฏิบัติการ มาตรการชัดเจน งบประมาณตามกิจกรรม กิจกรรม ที่มา: M&E PP สุริยะ วงศ์คงคาเทพ (2554)
แผนยุทธศาสตร์ VS แผนปฏิบัติการ
Level of Plan • Policy • Strategic Plan • Action (Operational) Plan • Program • Project Corporate vs Unit Plan
Planning Measurement แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) Corporate Scorecard เป้าประสงค์ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์รัฐบาล • แผนปฏิบัติราชการ (4 ปี) • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • Strategic Business Unit Scorecard • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เป้าประสงค์ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • แผนปฏิบัติราชการ (รายปี) • กระทรวง กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Sub-unit Scorecard Team & Individual Scorecard Budgeting
Result-Based Management ผลสัมฤทธิ์ RESULTS วัตถุประสงค์ OBJECTIVES ปัจจัยนำเข้า INPUT กิจกรรม PROCESS ผลผลิต OUTPUT ผลลัพธ์ OUTCOMES EFFICIENCY: ประสิทธิภาพ EFFECTIVENESS : ประสิทธิผล
Management process Monitoring Planning Implementation Evaluation Control
KPI Impact Outcome Output Where will we want to be: Vision Goal Objective Target 2 4 How do we know where we are How do we get there: Mission Strategy Tactic Activity 3 Process Where are we now: Situation analysis 1
Vision • How excellent of our • Products and Services Hierarchy of Purpose • What is the final effect • (How does it look like) Goal Objective • What is the effect at the • operation level (Output) • What is the amount • of effect at the • operational level that can • be measured Target
Mission • The main final products • and services Hierarchy of Action • The overall plan of • well integrated • measures/actions Strategy Tactic • The measure used to • achieve the target • The daily operations, • frontline actions Activity
Vision Action Plan 1. A 2. B 3. C 4. D Objective 1 Goal 1 Strategy 1 Goal 2 Objective 1 2 Action Plan 5. A 6. B 7. C Strategy 2 Mission Objective 1 2 Goal 3 Strategy 3 Action Plan 8. A 9. B 10. C Objective 1 2 3 Goal 4
Vision วิสัยทัศน์ สิ่งที่อยากจะให้หน่วยงานเป็น ในอีก 3 – 5 ปีข้างหน้า Mission พันธกิจ กรอบ ขอบเขต การดำเนินงานของหน่วยงาน Strategic Issues ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นหลักต้องคำนึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น Goal เป้าประสงค์ อะไรคือสิ่งที่หน่วยงานอยากจะบรรลุ Key Performance Indicators ตัวชี้วัด สิ่งที่จะเป็นตัวบอกว่าหน่วยงานสามารถบรรลุเป้าประสงค์หรือไม่ Target เป้าหมาย ตัวเลข หรือ ค่า ของตัวชี้วัด ที่จะต้องไปให้ถึง Strategy กลยุทธ์ สิ่งที่หน่วยงานจะทำ เพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ นิยามศัพท์
ขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์ขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กร (SWOT analysis) การกำหนดทิศทางในอนาคตขององค์กร (Mission & Vision) การกำหนดกลยุทธ์ขององค์กร (Strategic Direction) การกำหนดปัจจัยแห่งความสำเร็จและตัวชี้วัดหลัก (Key Success Factor / Key Performance Indicator)
รายละเอียดขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผนยุทธศาสตร์รายละเอียดขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผนยุทธศาสตร์ ขั้นเตรียมการ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4 การกำหนดแผนปฏิบัติการ การวิเคราะห์ศักยภาพของหน่วยงาน และปัจจัยแวดล้อม การจัดทำวิสัยทัศน์เป้าประสงค์ และประเด็นยุทธศาสตร์ การกำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาหน่วยงาน การเตรียมการ • ปัจจัยภายใน • - จุดแข็ง/จุดออ่อน • ปัจจัยภายนอก • - โอกาส/อุปสรรค • จัดตั้งคณะทำงาน • รวบรวมข้อมูล • วิเคราะห์ศักยภาพ • ต้องการเป็นอะไร • มีเป้าหมายอย่างไร • มีประเด็นทางยุทธศาสตร์อะไรที่ต้องการการพัฒนา ทำสิ่งใดบ้าง เพื่อให้ผลการดำเนินงาน บรรลุวิสัยทัศน์และเป้าหมายที่กำหนด การนำยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ ด้วยการจัดทำแผนงาน/โครงการ
การวิเคราะห์ศักยภาพของหน่วยงาน (SWOT Analysis)
MC KINSEY’S 7-S วิเคราะห์ S & W STRUCTURE SYSTEMS STRATEGY SHARED VALUES SKILL STYLE STAFF (SPECIALIST)
วิเคราะห์ O&T โดยใช้ PEST-HE Analysis P = Politics นโยบาย/กฎเกณฑ์ของรัฐบาล E = Economics เศรษฐกิจ S = Socio-cultural สังคม/วัฒนธรรม T = Technology วิทยาการแขนงต่าง ๆ H = Health สุขภาวะ E = Environment สิ่งแวดล้อม
คุณสมบัติที่ดีของ SWOT Analysis • มีความเชื่อมโยงกับกรอบนโยบายรัฐบาลและวาระแห่งชาติ • แสดงถึงลักษณะเฉพาะตัวของหน่วยงาน ทั้งในแง่จุดอ่อนและจุดแข็งซึ่งสามารถเป็นพื้นฐานประเด็นในการพัฒนา • สะท้อนถึงปัญหาและความต้องการของบุคลากรในหน่อยงาน • เป็นข้อเท็จจริง มีข้อมูลสนับสนุน ไม่ใช่ความคิดเห็น • คำนึงถึงสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป (Outside-in) • มีความสมดุลระหว่างการวิเคราะห์ภายนอกและการวิเคราะห์ภายใน
ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการวางแผนยุทธศาสตร์ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการวางแผนยุทธศาสตร์ • การสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูง • การมีหน่วยงานรับผิดชอบชัดเจน • ความเข้าใจในหลักการและแนวคิด • การสื่อสารภายใน • ความต่อเนื่อง • การเก็บข้อมูล พร้อมระบบที่รองรับ • ใข้ระบบการประเมินผลที่เน้นในเรื่องของการพัฒนา/ปรับปรุงองค์กร • เป็นส่วนหนึ่งของระบบการบริหารจัดการองค์กรและการถ่ายระดับสู่การปฏิบัติ
Good Health Information • Accurate • Coverage • Update • Appropriate
Type of Health Information • Health Status • Demography • Vital Statistic • Disease Burden • Health Services • Health Financing • Health Resources • Health manpower • Health facility • Budgeting
Steps of getting information • Health Data Collection • Primary/Secondary • Health Data Summarization • Issue Specific • Health Data Analysis • Health Data Presentation • Content & Form
แนวทางการวิเคราะห์เพื่อการจัดทำแผนแนวทางการวิเคราะห์เพื่อการจัดทำแผน
Identifying Plan of Action • Goal setting • Need identifying • Situation Analysis • Gap analysis • Strategy champions • Action Plans Strategic Objective • Statistics • Progress • Benchmark Strategy • Budget • Time • Manpower • IT KRI/ KPI • Necessity • Method • Process • Present burden of problem • Severity of problem • Ease of management orFeasibility • Public perception • Social & economic impact
Strategic formulation • Situation analysis • Gap analysis • Problem prioritization
Frame for gap analysis • Targeting => provinces, districts, settings • Backbone infrastructure: • Information system & mechanism • Manpower • Strategic approaches • Strategic partners & agencies: number, skillfulness • Products & Services: • Intervention (KM, HTA); innovation (MD), standard • Public communication: segmented groups • Public health emergency response (if needed) • M&E: tool, frequency
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาโรคและภัยสุขภาพ (1) ขนาดของปัญหา (Present burden of problem) (2) ความรุนแรงของปัญหา (Severity of problem) (3) ความยากง่ายในการแก้ปัญหา (Ease of management orFeasibility) (4) ความตระหนัก (Public perception) (5) ผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคม (Social & economic impact)
กรณีตัวอย่าง เด็กหญิงเมียง อายุ 4 ขวบ วิ่งเล่นในหมู่บ้านแถบชานเมือง ขณะวิ่งเล่นกับเพื่อน ได้วิ่งไปเหยียบถูกตะปูที่อยู่ในเศษไม้ บริเวณก่อสร้างที่อยู่ใกล้ๆ เด็กหญิงเมียงวิ่งร้องไห้มาหาแม่ แม่ของเด็กหญิงห้ามเลือด ล้างแผลให้ด้วยน้ำแล้วพันผ้าไว้โดยไม่ได้พาไปหาหมอ หนึ่งสัปดาห์ต่อมาแผลไม่หาย แต่กลับเกิดอาการติดเชื้อและอักเสบรุนแรง เด็กหญิงมีไข้ขึ้นสูงและอาการแย่ลงมาก แม่จึงต้องพาไปโรงพยาบาลด้วยอาการวิกฤติ วันถัดมาเด็กหญิงเมียงก็เสียชีวิต จากสถิติของหมู่บ้านนี้ มีคนจำนวนมากกว่า 10 รายต่อปี ที่เกิดอาการเป็นแผลติดเชื้ออย่างรุนแรง และต้องตายเนื่องจากแผลติดเชื้อดังกล่าว พิจารณาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุของการตายของเด็กหญิงเมียง ???
ปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุของการตายของเด็กหญิงเมียงปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุของการตายของเด็กหญิงเมียง • เด็กหญิงอยู่ในหมู่บ้านที่ยากจน/เป็นต่างด้าว พ่อแม่ทำงาน ปล่อยให้วิ่งเล่นและไม่ได้ดูแลให้ใส่รองเท้า/ไม่มีรองเท้า (ด้านเศรษฐกิจ) • ในหมู่บ้านไม่มีสนามเด็กเล่นที่ปลอดภัย (ด้านสิ่งแวดล้อม) • แม่ของเด็กขาดความรู้ ในการปฐมพยาบาลและการจัดการกับแผลอย่างถูกวิธี (การศึกษา) • การไม่สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ (ระบบบริการสุขภาพ) • การไม่ใส่ใจกับการจัดการกับเศษไม้ ขยะ (วิถีชีวิต/พฤติกรรมความเคยชิน) • ฯลฯ
สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์สถานการณ์ของพื้นที่สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์สถานการณ์ของพื้นที่ • กำหนดกรอบการวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ • การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อการวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ • ถูกต้อง แม่นตรง น่าเชื่อถือ (แหล่งที่มา) • ครอบคลุม ครบถ้วน • เป็นปัจจุบัน • เหมาะสมกับการใช้งาน • จัดลำดับความสำคัญ • นำประเด็นปัญหามาวิเคราะห์เชื่อมโยง สาเหตุปัญหาและผลกระทบ นำไปสู่แนวทางการพัฒนา
ทิศทางนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 • เป้าหมายระยะ 10 ปี • อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี • 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี นโยบายหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ขจัดคอรัปชั่นเวลา การแพทย์ทางเลือก เข้าถึงบริการอย่าง เท่าเทียม ปรองดองสมานฉันท์ เชิงรุก ยุทธศาสตร์บูรณาการ 4 ระบบ ยุทธศาสตร์บูรณาการ 5 กลุ่มวัย กรมการแพทย์ ควบคุมโรค 1.กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1.ระบบบริการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แพทย์แผนไทย สุขภาพจิต 2.กลุ่มเด็กวัยเรียน 2.ระบบควบคุมโรค 3.กลุ่มเด็กวัยรุ่น กรมวิทย์ฯ อย. 3.ระบบคุ้มครองผู้บริโภค 4.กลุ่มวัยทำงาน 4.ระบบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อนามัย สบส. 5.กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ
Road Map การดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข • ระยะเร่งด่วน • โครงการรวมใจปรองดองสมานฉันท์ • การพัฒนาระบบบริการให้ดียิ่งขึ้น • สร้างขวัญกำลังใจ • ธรรมมาภิบาลและกลไกตรวจสอบ ถ่วงดุล • บำบัดรักษา ฟื้นฟู ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด และการเฝ้าระวังควบคุมการใช้ วัตถุเสพติด • ระยะยาว • จัดทำแผนการลงทุนของกระทรวงสาธารณสุข • จัดทำแผนการผลิตและพัฒนากำลังคน • ระยะกลาง • การปฏิรูประบบเขตบริการสุขภาพ • การปฏิรูประบบการเงินการคลัง • พัฒนาระบบข้อมูลด้านสุขภาพ • การพัฒนาและบังคับใช้กฎหมาย • การพัฒนากลไกสร้างเอกภาพในการกำหนดนโยบายสาธารณสุข (NHAB) • เสริมสร้างความพร้อมรองรับประชาคมอาเซีย • พัฒนางานสาธารณสุขชายแดนแรงงานต่างด้าว • ปีงบประมาณ 2558 (ต.ค.57-ก.ย.58) – 2559 (ต.ค.58-ก.ย.59) • ปีงบประมาณ 2560 • ปีงบประมาณ 2557 (มิ.ย.-ก.ย.) • ได้พบแพทย์ รอไม่นาน อยู่ใกล้ ไกลได้รับยาเดียวกัน • ผู้ป่วยฉุกเฉินทุกสิทธิปลอดภัย • ผู้สูงอายุและคนพิการได้รับการดูแลฟื้นฟูต่อเนื่อง • มีกลไกการอภิบาลระบบที่เป็นระบบคุณธรรม • ประชาชนที่ได้รับผลกระทบด้านสังคมจิตใจ ได้รับการเยี่ยวยา • ผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติด ได้รับการบำบัดรักษา ฟื้นฟูตามเกณฑ์ที่กำหนด • มีกลไกกำหนดและกำกับนโยบายสาธารณสุขในระดับชาติ • ลดความเหลื่อมล้ำสิทธิรักษาพยาบาลระหว่างกองทุน • มีระบบบริการแบบเขตบริการสุขภาพ 12 เขต • ประชาชนเข้าถึงบริการได้มากขึ้น ระบบบริการมีคุณภาพและประสิทธิภาพ • ประชาชนได้รับการส่งต่อแบบเบ็ดเสร็จ ไร้รอยต่อในเขตบริการสุขภาพ • ประชาชานทั่วไปมีภูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งทางจิตใจ • ระบบบริการของประเทศมีศักยภาพรองรับประชาคมอาเซียน • ประชาชนในพื้นทีชายแดน ชายขอบ และแรงงานต่างด้าว สามารถเข้าถึง บริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ • ประชาชนได้รับความเท่าเทียมในการรับบริการ • ระบบสุขภาพมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ สมาฉันท์ บนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข • ประชาชนได้รับความคุ้มครองภายใต้กฎหมายด้านสุขภาพ