660 likes | 859 Views
Chapter 14. Acquiring IT Applications and Infrastructure. Information Technology For Management 5 th Edition Turban, McLean, Wetherbe Lecture Slides by A. Lekacos, Stony Brook University John Wiley & Sons, Inc. LEARNING OBJECTIVES. อธิบายถึงกระบวนการจัดหา หรือ พัฒนา IT
E N D
Chapter 14 Acquiring IT Applications and Infrastructure Information Technology For Management 5th Edition Turban, McLean, Wetherbe Lecture Slides by A. Lekacos, Stony Brook University John Wiley & Sons, Inc. Chapter 14
LEARNING OBJECTIVES • อธิบายถึงกระบวนการจัดหา หรือ พัฒนา IT • อธิบายการบ่งชี้โครงการ การตัดสินใจและการวางแผน IT • แสดงทางเลือกต่าง ๆ ในการจัดหาร IT และหลักการในการเลือกทางเลือกข้างต้น • อธิบายการใช้แนวทางในการเลือกวิธีการในการจัดหา • อธิบายถึงบทบาทของ ASP • อธิบายถึงกระบวนการการเลือก vendor และ software • ทำความเข้าใจเรื่องเกี่ยวกับการนำมาใช้งานบางประการ • ทำความเข้าใจเรื่องการเชื่อมต่อโปรแกรมประยุกต์ของ IT กับ ฐานข้อมูล โครงข่าย ประแกรมประยุกต์อื่น ๆ และ business partners. • อธิบายถึงการออกแบบกระบวนการทางธุรกิจใหม่และแนวทางการดำเนินการข้างต้น • อธิบายการสนับสนุนของ IT ในการออกแบบกระบวนการใหม่และBPR, รวมถึงสิ่งที่เกี่ยวข้อกับการออกแบบ ความสำเร็จ ความล้มเหลว Chapter 14
How Sterngold acquired an e-commerce system • Problem: • บริษัท Sterngold ขายสินค้าเกี่ยวกับฟัน (dental material) มากกว่า 4,000 ชนิดทั้งแบบขายตรงไปยัง 350,000-400,000 dental professionals และ ขายผ่านตัวแทนไปยัง 5 ล้าน dental professional • ยอดสั่งสินค้ามักมีจำนวนน้อย มักมาจากลูกค้ารายเดิมและต้องการให้ส่งของภายในวันนั้น • Sterngold คิดว่าถ้าทำการขายแบบ online ลูกค้าน่าจะสั่งซื้อได้ง่ายกว่า ลดต้นทุนการทำธุรกรรมลง และได้รับสินค้าเร็วขึ้น บริษัทมี Website อยู่แล้ว แต่ยังไม่มีโมดูลการขาย บริษัทได้เลือกสองแนวทางคือ 1) พัฒนา EC เอง หรือ 2) หา Outsource จัดการให้ Chapter 14
Solution: • บริษัทต้องการคำตอบในด้านเทคโนโลยีที่ออกสู่ตลาดได้ไว เทคโนโลยีที่ดีหาได้ง่ายผู้คนรู้จัก มีความปลอดภัยและมีความวางใจได้สูง ถือเป็นสมรรถนะหลักขององค์กร • บริษัทมีพนักงาน IT แค่คนเดียว ถ้าจะพัฒนาขึ้นใช้เองจะต้องว่าจ้างคนมาเพิ่มทำให้แผนก IT มีขนาดใหญ่ขึ้น จึงตัดสินใจใช้ Outsourcing • คำถามที่ตามมาคือจะเลือกอย่างไร ให้ Outsourcing รายนั้นเข้าใจถึงความต้องการที่จะเดินหน้าอย่างรวดเร็วแต่ต้องมีความระมัดระวัง หลังจากผ่านกระบวนการสรรหาและเจรจาหลายราย Sterngold เลือกบริษัทชื่อ Surebridge Chapter 14
Process: • Surebridge เลือกแนวทางของเขาคือ แนวทาง eMethodology ขั้นตอนแรก สร้างทีมขึ้นมา เพื่อทำการวิเคราะห์ทางธุรกิจของ Sterngold ว่าต้องการอะไร ผ่านทางการสัมภาษณ์และสารสนเทศที่มีแล้วตั้ง Goal ขึ้นมาภายในกรอบเวลาที่ต้องการ คือต้อง เสร็จก่อนการแสดงสินค้า เพื่อนำไปแสดงให้ลูกค้าเห็นว่า การสั่งสินค้าผ่าน Web ทำได้อย่างสะดวก • ขั้นตอนต่อมา เป็นการสร้าง architecture อันเป็นการรวม front-end (จากขั้นตอนที่ 1) และ back-end (ในขั้นตอนที่ 2 นี้) เข้าด้วยกัน • การทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดทำให้ขั้นตอนแรกเสร็จสิ้นน้อยกว่า 3 เดือน สำหรับขั้นตอนที่สองนั้นจะยุ่งยากมากว่า เพราะเป็นการรวม การเงิน การคลัง การจัดหาสินค้าเข้ากับ Ordering System บางกระบวรการทางธุรกิจต้องออกแบบใหม่ให้เหมาะโดยที่ปรึกษาที่ต่างออกไป Chapter 14
Results: • ระบบใหม่มีความสามารถใหม่ ๆหลายประการ เช่น ลดข้อผิดพลาดจากการป้อนข้อมูลลง มี Real-time inventory status ทำให้ลูกค้าทราบว่ามีสินค้าที่ต้องการสั่งซื้อหรือไม่ หลังจากสั่งซื้อแล้วลูกค้าสามารถติดตามสถานะการซื้อได้ มีการลดราคาให้กับลูกค้าเฉพาะรายซึ่งจะรู้ทันทีเมื่อทำการ log-in อนุมัติบัตรเครดิตแบบเวลาจริง เป็นต้น • ปี 2004 สองปีหลังจากทำ E-business ผลลัพธ์ที่ได้คือ • สามารถ Offer free shipping • มี Product ทาการโปรโมตมากขึ้น • ลดภาระค่าใช้จ่ายทางด้านการทำธุรกรรมลงทั้งตัวบริษัทและลูกค้า เช่น ลด Fax, Mail • สร้าง Business partner ได้มากขึ้น และ ให้ความสะดวกมากขึ้น Chapter 14
14.1 The landscape and framework of IT Application Acquisition • ในบทนี้ เราจะมุ่งเน้นไปที่ Information system acquisition • คำว่า “acquisition” หมายถึงการรวมทุกๆด้านเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้ระบบต่างๆ ตาม ต้องการ มันจึงรวมถึง การจัดซื้อ การเช่า หรือ การสร้างขึ้น เอาไว้ด้วยกัน • การรวบรวมรายการต่างๆข้างต้นจะซักซ้อนมาก เพราะ การประยุกต์ใช้ IT มีหลาก หลายผันแปรไปตามระยะเวลา อาจเกี่ยวข้อกับหลายๆแผนก • พึงระลึกไว้ว่า ไม่มีแนวทางที่ตายตัว (หรือทางใดทางหนึ่งที่ชัดเจน) ในการรวบรวม ข้างต้น เช่น อาจจะต้องพัฒนาขึ้นเอง อาจว่าจ้างให้บริษัทอื่นทำให้ หรือ อาจต้องใช้ ทั้งสองวิธี Chapter 14
The five major steps of Acquisition 1 2 3 4 5 Chapter 14
The Acquisition Process • กระบวนการรวบรวม IT Application เข้าด้วยกัน จะประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ • ขั้นตอนที่ 1:วางแผนในการเลือกใช้ระบบสารสนเทศต่างๆ พร้อมเหตุผลสนับสนุน • การวางแผนต้องสอดรับกับแผนธุรกิจขององค์กร • Application ต่างๆต้องวิเคราะห์อย่างชัดเจนเพื่อมั่นใจว่าตรงกับฟังก์ชันที่ต้องการ และ มีเหตุผลแสดงถึงผลประโยชน์ที่จะได้รับเมื่อเทียบกับทุนที่ลงไป • ขั้นตอนที่ 2:ออกแบบสถาปัตยกรรมของ IT โดยใช้แนวทางของ systems analysis • มุมมองในขั้นตอนนี้จะมองไปในเชิงเทคโนโลยีที่นำมาใช้ (อ่านเพิ่มเติมใน TG 6) • ผลที่ได้ถูกเชื่อมเข้าไปสู่ระดับการวางแผนเชิงกลยุทธ์โดยคณะทำงานหลัก เช่น Steering Committee ซึ่งอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น และ ทำให้ต้องทำการแก้ไข การออก แบบ เมื่อทุกอย่างได้รับการยอมรับ (การแก้ไขเสร็จสิ้น) เราจะทราบว่า การพัฒนาจะทำ ไปในแนวทางใด Chapter 14
ขั้นตอนที่ 3:เลือกทางเลือกในการพัฒนาและรวบรวม application ต่างๆ • แนวทางการพัฒนามีทางเลือกได้หลายทางได้แก่ • สร้างระบบขึ้นมาด้วยตัวเราเอง (สามารถทำได้หลายทาง) • ซื้อ application ต่างๆ แล้วติดตั้ง (โดยทำการแก้ไข หรือ ไม่ต้องก้ได้) • เช่าซอฟท์แวร์ใช้งานจาก Applications Service Provider (ASP) หรือ Utility Computing • หาพันธมิตรร่วม หรือ เข้าร่วมกับผู้อื่นที่ใช้อยู่แล้ว • ร่วมกับ e-marketplace หรือ E-Exchange หรือ ร่วมกับ third –party auction หรือ reverse auction • อาศัยหลายแนวทางประกอบกัน Chapter 14
ขั้นตอนที่ 4:ติดตั้ง เชื่อมต่อ และ อื่นๆ เพื่อให้เป็นไปตามต้องการ • การประยุกต์ใช้จำเป็นต้องเชื่อมต่อเข้ากับส่วนต่างๆ เช่น intranet extranet database และ application ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้รวมไปถึงพันธมิตรทางธุรกิจและการแลกเปลี่ยน ข้อมูล • ดังนั้นขั้นตอนนี้ต้องมีการทดสอบระบบ ตรวจสอบการใช้งานของผู้ใช้ การอบรม การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • ขั้นตอนที่ 5: ดำเนินงานและบำรุงรักษา • การดูแลรักษาจะเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก เพราะการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีเป็นไป อย่างรวดเร็ว Chapter 14
14.2 Identifying, Justifying and Planning Information System Applications (Step1) • บทที่ 12 ได้กล่าวถึงกระบวนการวางแผน IT ตั้งแต่ macro เป็นต้นไป คือ มองภาพรวมทรัพยากรของ IT ทั่วทั้งองค์กรก่อนแล้วจึงแยกมองเป็น specific application หรือ specific infrastructure และยังต้องมองกระบวนการวางแผนแต่ละ applicationด้วย • อ่านเพิ่มเติมใน IT at Work 14.1 “Web services get swedish banking applications talking to each other” page 600 • จากนั้นให้ระบุถึง High payoff Projects • แล้วทำ Project Justification (กล่าวผ่านมาแล้วในบทที่ 13) • จากนั้นควรหันมาดูกระบวนการทำธุรกิจในปัจจุบัน เพื่อทำความเขาใจในแต่ละพื้นที่ ๆ ต้องการใช้ Specific Application (สิ่งที่ต้องดูคืออินพุตและเอาต์พุตที่เกี่ยวข้องกับ Application นั้น ๆ) ควรมองในเชิง Systematic way (Technology Guide 6) Chapter 14
14.3 Acquiring IT Application: Available Options (Step 3) • แบ่งเป็น 3 ทางเลือก คือ ซื้อ เช่า พัฒนาขึ้นใช้เอง • ทางเลือกที่ 1 ซื้อ Application ที่มีขายทั่วไป Chapter 14
Acquiring IT Applications ทางเลือกที่ 2- Lease Types of Leasing Vendors การเช่า application จากแหล่งภายนอกและติดตั้งเอาไว้ในอาณาบริเวณของบริษัท ผู้ให้เช่าสามารถช่วยเราในเรื่องการติดตั้งและมักจะมีข้อสัญญาดำเนินงานและการซ่อมบำรุงระบบพ่วงตามมาด้วย ส่วนมากแล้วมักจะใช้การเช่าตามแนวทางนี้ ใช้ application system provider (ASP)จะกล่าวรายละเอียดในหัวข้อต่อไป Utility Computing หรือ On-demand computingหมายถึง การเข้าไปขอใช้ในแหล่งที่มี ทรัพยากรทางด้าน Computing power และ Storage Capacity อย่างมากมาย (ไม่จำกัด) แล้วเราจ่ายเงินตามการใช้งาน(pay-per-use) อ่านเพิ่มเติมใน A Close look 14.1 “Utility computing: “The next big thing” page 604 Chapter 14
Acquiring IT Applications Option 2 - Lease- Utility Computing • Utility Computingจะประกอบด้วยเครื่องมือหลัก 3 ตัวคือ • Policy-based service-level-management tools • Policy-based resource-management tools • Virtualization tools Chapter 14
Acquiring IT Applications ทางเลือกที่ 3 – Development In-House • In-House Development Approachesมักทำกันสองแนวทางได้แก่ • Build from Scratch:หมายถึงการพัฒนา application ต่างๆ ขึ้นมา โดยที่บริษัทไม่มี องค์ประกอบพื้นฐานอยู่เลย (หมายถึง ไม่มีอะไรให้เลย ต้องซื้อใหม่ทั้งหมด หรือ กล่าวง่ายๆว่า ต้องเริ่มจากศูนย์) • Build from components:บริษัทที่มี experienced IT staff สามารถใช้องค์ประกอบพื้น ฐาน(ตามมาตรฐาน)ต่างๆ (เช่น secure Web server) โปรแกรมภาษาต่างๆ ( เช่น Java Visual basic หรือ Perl) และ third-party subroutines เพื่อสร้างและดูแล application ด้วยตัวของเขาเอง Chapter 14
Building in-house Methodologies • นอกจากนั้น การสร้าง application เองสามารถทำได้หลายวิธีการ ตัวอย่างเช่น • System development life Cycle (SDLC) (จะกล่าวภายหลัง) • Prototyping methodologyเริ่มจากการกำหนดรายละเอียดของระบบที่ต้องการ แล้วจึง สร้างต้นแบบขึ้นมา จากนั้นก็ทำการปรับปรุง แก้ไขให้ดีขึ้นตามข้อมูลที่ได้รับจากผู้ใช้ งาน หลายๆบริษัทมักจะใช้แนวทางนี้ เพราะ 1) เร็ว (ทำให้ออกสู่ตลาดได้ก่อน) 2) ได้ ประโยชน์จากผู้ใช้ หรือ ผู้เกี่ยวข้องโดยตรงในการออกแบบ Application Chapter 14
End-User Development • ผู้ใช้งานท้ายสุด (end-user) พัฒนาโปรแกรมขึ้นใช้เอง (โดยทั่วไปจะพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้ตนเองทำงานได้ง่ายหรือสะดวกขึ้น) เช่น พัฒนาระบบที่อาศัย Web เข้าช่วยในการทำงาน เป็นต้น • อ่านเพิ่มเติมใน IT at Work 14.2 “ANSETT AUSTRALIA and IBM collaborate in end-user computing” page 604 Chapter 14
ทางเลือกอื่น ๆ ในการจัดหา • ยังมีทางเลือกอีกหลายๆทางในการจัดกา/รวบรวมส่วนต่างเข้าด้วยกัน เช่น • 1) ร่วมกับ e-marketplace หรือ E-Exchange • 2) ร่วมกับ third –party auction หรือ reverse auction • 3) เข้าร่วมกลุ่มในแบบ joint ventures • 4) ร่วมกับ public exchange หรือ consortium • 5) อาศัยหลายแนวทางประกอบกัน Chapter 14
Overview of SDLC • Systems development life cycle (SDLC)คือกรอบการทำงานที่มีโครงสร้าง (structured framework)ที่ใช้กับ IT project ที่มีขนาดใหญ่ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการที่ต่อเนื่อง กันไป (sequential processes) ที่มาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ ขอให้ดูจากรูปใน หน้าไป ซึ่งประกอบไปด้วย 8 ขั้นตอน ซึ่งจะได้กล่าวถึงรายละเอียดต่อไป • ในอดีตที่ผ่านมานักพัฒนามักใช้แนวทางที่เรียกว่าWaterfall approachหมายถึง การทำ SDLC ในเชิงขั้นบันได หรือกล่าวง่ายๆว่า ขั้นตอนใดๆ จะต้องแล้วเสร็จก่อนไปทำงาน ในขั้นตอนถัดไป • ปัจจุบันนี้ นักพัฒนาระบบ มักจะย้อนกลับไปกลับในแต่ละขั้นตอนตามความจำเป็น เพื่อ พิจารณาความถูกต้องเหมาะสม ความสอดคล้องของระบบ Chapter 14
An eight- stage system development life cycle (SDLC) Chapter 14
โครงการการพัฒนาระบบให้ออกมาตรงตามความต้องการต้องใช้ทรัพยากรมากมาย ประกอบด้วย ผู้ใช้ นักวิเคราะห์ระบบ โปรแกรมเมอร์ ผู้ชำนาญทางเทคนิค ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียกับระบบ • Systems analysts.คือ IS มืออาชีพผู้ซึ่งมีความชำนาญในการวิเคราะห์และออกแบบ information systems. • Programmers.คือ IS มืออาชีพที่สร้าง/แก้ไขโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ เพื่อให้ตรง ตามความต้องการของผู้ใช้ • Technical specialistคือผู้ชำนาญในเทคโนโลยีแบบใดแบบหนึ่ง เช่น ฐานข้อมูลหรือระบบการสื่อสารโทรคมนาคม • Systems stakeholders หมายถึงทุกๆคนที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของ ระบบสารสนเทศ Chapter 14
1) Systems investigation • Systems investigationเริ่มด้วย business problem (หรือ business opportunity) การทำ ความเข้าใจปัญหานอกจากจะมองจากมุมมองภายในองค์กรแล้ว ยังต้องครอบคลุมไป ถึงพันธมิตรต่างๆ (supplier และ customer) อาจต้องรวมไปถึงคู่แข่งด้วย การมองปัญ หาได้ชัดเจน ลึกซึ้ง ครอบคลุมมากเท่าใด โอกาสในการแก้ปัญหาได้สำเร็จก็มากขึ้น ตามไปด้วย • งานต่อไปของ systems investigation คือการศึกษาความเป็นไปได้ (feasibility study)เพื่อวัดความเป็นไปได้ ของความสำเร็จของโครงงานที่นำเสนอ และจัดทำการประ เมินคร่าวๆของความเป็นไปได้ของโครงการ Chapter 14
Feasibility study • การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ สามารถแบ่งย่อยได้เป็น • Technical feasibility:เป็นการประเมินว่า องค์ประกอบทางด้าน hardware, software และ communications จะพัฒนาเอง และ/หรือ จัดหาจากภายนอก เพื่อนำมาแก้ปัญหา ทางธุรกิจ • Economic feasibility:เป็นการประเมินว่าโครงงานหนึ่งๆได้รับการยอมรับในแง่ financial risk และองค์กรสามารถรองรับค่าใช้จ่ายและระยะเวลาที่จะทำให้เสร็จ สมบูรณ์หรือไม่ โดยทั่วไปจะวิเคราะห์โดยอาศัยสามวิธีด้วยกัน คือ • ก) Return on investment (ROI)คือ อัตราส่วนของ net income attributable to a project หารด้วย average assets invested in the project. Chapter 14
Economic feasibility • ข) Net present value(NPV) หมายถึง net amount ซึ่ง project benefits exceed project costs of capital และ time value of money. • ค) Breakeven analysis คือวิธีการหาจุดซึ่ง cumulative cash flow จากโครงการหนึ่งๆ มีค่าเท่ากับ การลงทุนในโครงการนั้นๆ • Organizational feasibilityหมายถึงความสามารถขององค์กรในการ access โครงการ ที่ถูกเสนอขึ้นมา • Behavioural feasibility หมายถึง การประเมินทางด้าน human issues ที่เกี่ยวข้อง กับโครงงานหนึ่งๆ ทั้งนี้รวมถึงความต่อต้านต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น การสร้างความชำนาญและการอบรม Chapter 14
2) Systems analysis • System Analysisคือ การตรวจสอบ business problem ที่องค์กรวางแผนเพื่อทำการ แก้ไขโดยใช้ระบบ สารสนเทศ ขั้นตอนนี้เป็นการนิยามปัญหาทางธุรกิจ บ่งชี้สาเหตุ ต่างๆ แนวทาง การแก้ปัญหาที่เจาะจง และบ่งชี้ถึงสารสนเทศที่ต้องการ เพื่อให้ได้มา ซึ่งคำตอบที่พึงพอใจ • องค์กรมักมีสามแนวทางของคำตอบในการแก้ปัญหาทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับระบบ สารสนเทศ ได้แก่: • ไม่ทำอะไร โดยยังใช้ระบบเดิมที่มีอยู่โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลง • ดัดแปลง หรือ ปรับปรุงระบบเดิมที่มีอยู่ให้ดีขึ้น • พัฒนาระบบขึ้นมาใหม่ Chapter 14
ปัญหาต่างๆที่เกี่ยวกับการสืบหาสารสนเทศที่ต้องการ (โดยไม่สนใจวิธีการของการ วิเคราะห์) • การนิยามปัญหาทางธุรกิจไม่ชัดเจน(poorly defined) • ผู้ใช้อาจไม่รู้จริงๆว่าปัญหาคืออะไรเขาต้องการอะไร เขาอยากได้อะไร • ผู้ใช้อาจขัดแย้งซึ่งการและกัน (ความเห็นไม่ลงลอยกัน) เกี่ยวกับขั้นตอนปฏิบัติ งานทางธุรกิจ หรือปัญหาทางธุรกิจ • ปัญหาอาจไม่สัมพันธ์กับสารสนเทศที่มีอยู่ แต่อาจต้องการคำตอบรูปแบบอื่นๆ เช่น การบริหารจัดการด้านการเปลี่ยนแปลง หรือ การอบรมเพิ่มเติม Chapter 14
ขั้นตอนของการวิเคราะห์ระบบทำให้ได้สารสนเทศต่อไปนี้:ขั้นตอนของการวิเคราะห์ระบบทำให้ได้สารสนเทศต่อไปนี้: • จุดแข็งและจุดอ่อนของระบบที่มีอยู่ • ฟังก์ชันต่างๆที่ระบบใหม่ต้องมี เพื่อใช้แก้ปัญหาทางธุรกิจ • สารสนเทศของผู้ใช้ที่ต้องการจากระบบใหม่ Chapter 14
3) Systems design • System analysis อธิบายว่าระบบหนึ่งๆที่ต้องทำเพื่อแก้ปัญหาทางธุรกิจ ส่วน การออก แบบระบบ (Systems design)อธิบายว่า ระบบจะต้องทำอย่างไรจึงจะทำให้งานสำเร็จ ลุล่วงไป การได้มาซึ่งแต่ละขั้นตอนของการออกแบระบบก็คือการออกแบบเชิงเทคนิค (technical design) ที่เจาะจงลงไปในสิ่งต่อไปนี้ : • เอาท์พุท/อินพุทต่างๆของระบบ รวมถึง การเชื่อมต่อกับผู้ใช้ในรูปแบบต่างๆ • Hardware, software, databases, telecommunications, personnel และ procedures • องค์ประกอบข้างต้นรวมกันได้อย่างไร • เอาท์พุทที่จากการออกแบบระบบจะเป็นตัวแทนของ set of system specification Chapter 14
การออกแบบระบบจะถูกล้อมรอบเอาไว้ด้วยความต้องการหลักๆสองประการของระบบ ใหม่ ได้แก่: • การออกแบบระบบเชิงตรรกะ (Logical system design):เป็นการระบุว่า ระบบจะทำ อะไร โดยใช้ abstract specifications. • การออกแบบระบบเชิงกายภาพ (Physical system design):เป็นการระบุว่า ระบบจะ ดำเนินตามฟังก์ชันต่างๆของมันอย่างไร เมื่ออ้างอิงตาม actual physical specification. Chapter 14
4) Programming • การโปรแกรม หมายถึง การเปลี่ยน จาก system’s design specification ไปเป็น computer code. • โดยทั่วไปมักเป็นแบบ structured programming Chapter 14
5) Testing • การทดสอบ(Testing) เป็นการตรวจดูว่า computer code ได้ให้ผลตามที่คาดหวังและต้องการ ออกมาหรือไม่ ภายใต้ข้อกำหนดต่างๆที่แน่นอน (certain conditions) • การทดสอบ ถูกออกแบบมาเพื่อขจัดความผิดพลาด (bugs) ใน computer code ความผิดพลาดต่างๆ จะมีอยู่สองประเภท คือ Syntax errors ( เช่น สะกดคำผิด ลืมใส่ comma เป็นต้น) และ logic errors (หมายถึงโปรแกรมทำงานแต่ให้ผลออกมาไม่ตรง ตามความต้องการ) Chapter 14
6) Implementation • Implementation หรือ deploymentคือ กระบวนการในการเปลี่ยนจากระบบเก่ามา เป็นระบบใหม่ • องค์กรมักจะมีแนวทางในการเปลี่ยนสี่แบบได้แก่; parallel, direct , pilot และ phased. • Parallel conversion หมายถึง Implementation process ซึ่งระบบเก่าและระบบใหม่ทำ งานขนานกันไปช่วงเวลาหนึ่ง จนแน่ใจในระบบใหม่แล้วจึงตัดระบบเก่าออก • Direct conversion หมายถึง Implementation process ซึ่งระบบเก่าถูกตัดออกทันที เมื่อระบบใหม่ทำงาน ตามช่วงเวลาที่กำหนดไว้ • Pilot conversion หมายถึง Implementation process ที่นำเอาระบบใหม่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร (เช่น ทดลองในแผนกใดแผนกหนึ่ง)ในเชิงทดลองใช้งาน เมื่อเห็นว่าระบบใหม่ทำงานถูกต้องแล้ว จึงนำไปใช้ในส่วนอื่นๆในองค์กรต่อไป Chapter 14
Implementation cont… • Phased conversion หมายถึง Implementation process ที่นำระบบใหม่มาใช้งานทีละส่วน (phase) แล้วค่อยๆเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆจนครบทุกส่วน อันถือว่าระบบใหม่ถูกนำมาใช้อย่างครบถ้วน Chapter 14
7) Operation and 8) maintenance • เมื่อระบบทำงานแล้ว ระบบต้องการ การดูแลรักษาหลายๆแบบ: • การแก้ไข (Debugging):เป็นกระบวนการที่ต้องทำอย่างต่อเนื่องตลอดอายุการใช้ งานของระบบ • การปรับให้ทันสมัย (Updating):หมายถึงการปรับระบบให้ทันสมัยตามการ เปลี่ยนแปลงของ business condition ต่างๆ • การบำรุงรักษา (Maintenance):ในที่นี้หมายถึงการเพิ่มเติมฟังก์ชันใหม่ๆเข้าระบบ เป็นการเพิ่ม new features เข้าไปในระบบที่มีอยู่แล้วโดยไม่มีการรบกวนการปฏิบัติ งาน Chapter 14
Alternative methods and tools for systems development • การทำต้นแบบ (Prototyping) • การออกแบบแอพพลิเคชันร่วมกันเป็นกลุ่ม (Joint application design (JAD)) • การพัฒนาแอพพลิเคชันแบบรวดเร็ว (Rapid application development (RAD)) • การพัฒนาในเชิง Object- oriented • วิธีการอื่น ๆ Chapter 14
Alternative methods cont… • Prototypingเป็นแนวทางที่กำหนด initial list ของความต้องการของผู้ใช้ แล้วสร้างระบบต้นแบบ และปรับปรุงระบบซ้ำๆหลายๆครั้งตามข้อมูลที่ป้อนกลับมาจากผู้ใช้ • Joint application design (JAD)เครื่องมือที่ใช้กับกลุ่ม(group –based tool) สำหรับรวบ รวมความต้องการต่างๆของผู้ใช้ แล้วทำการออกแบบระบบขึ้นมาตามข้อมูลที่ได้ • Rapid application development(RAD)วิธีการพัฒนาที่ใช้เครื่องมือพิเศษต่างๆและใช้การกระทำซ้ำๆ (ในเชิงแก้ไขให้ถูกต้อง) เพื่อสร้างระบบที่มีคุณภาพอย่างรวดเร็ว Chapter 14
Rapid prototype development process Chapter 14
Alternative methods cont… • Integrated Computer-Assisted Software Engineering Tools: • ก) Computer-aided software engineering (CASE)แนวทางการพัฒนาที่ใช้เครื่องมือ พิเศษในเชิงออกแบบงานหลายๆงานใน SDLC โดยอัตโนมัติ ใช้ upper CASE tools สำหรับ ออกแบบ SDLC โดยอัตโนมัติในช่วงเริ่มต้นของ SDLC และ lower case tools ออกแบบ ในขั้นตอนหลังๆ • ข) Integrated Computer Assisted software Engineering (ICASE) Toolsเป็น CASE tools ที่ช่วยในการเชื่อมต่อ(link)ระหว่าง upper CASE และ lower CASE tools • Object- oriented developmentเริ่มด้วยการมองสภาพในโลกแห่งความจริง (การทำงาน ที่ลงมือทำจริง) แล้วมาทำแบบจำลองเพื่อนำไปใช้ทำงานหนึ่งๆ Chapter 14
Component-based development (CBD) and web service • Component-based development (CBD):วิธีการที่ใช้ pre-programmed components ในการพัฒนา application • Web service ในการพัฒนาระบบ:เป็น Web ที่ Self-contained, self-describing business และมี consumer modular application มากมาย, delivered over the Internet, ผู้ใช้สามารถเลือกและรวมสิ่งที่ต้องการเข้าด้วยกันได้ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้อง การของตนเอง Chapter 14
Web services advantages and limitations Chapter 14
E-Business Application Development ความแตกต่างระหว่าง business models และ applications จะแปรตามขนาดจากร้านเล็ก ๆ ไปถึงการแลกเปลี่ยนกันทั่วโลก ทำให้เกิดความผันแปรของกรรมวิธีการในการพัฒนาและมีแนวทางที่หลากหลาย • มีหลายทางเลือกในการพัฒนา e-business (e-biz) applications: • การซื้อ (Buying)มีโปรแกรมสำเร็จรูปที่คุ้มราคาและประหยัดเวลาเมื่อเทียบกับการพัฒนาโดยองค์กร • การเช่า (Leasing)มีข้อดีกว่าการซื้อในกรณีที่ต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่องและเมื่อซื้อแล้วมีราคาแพง • การพัฒนาในองค์กร (Develop in-house) • พัฒนาจากการไม่มีอะไรเลย (Build from scratch) • พัฒนาจากสิ่งที่มีอยู่บ้างแล้ว (Build from components) • รวบรวมสิ่งที่มีอยู่แล้วเข้าด้วยกัน (Enterprise application integration) Chapter 14
14.4 Outsourcing and Application Service Providers • Outsourcing • Outsourcing หมายถึง การใช้ outside contractors หรือ external organizations เพื่อจัดการงานบริการทางด้าน IT โดยเราไม่ต้องทำเอง • มี vendor หลายประเภท ที่ให้บริการในการสร้าง ดำเนินงาน ทางด้านระบบ IT ทั้งนี้รวม ถึงการประยุกต์ใช้งานด้าน e-commerce เช่น: • Software houses • Outsourcers and others • Telecommunications companies • รูปแบบหนึ่งที่พบเห็นกันทั่วไปในการทำ IT outsourcing คือการใช้ application service provider Chapter 14
Application Service Providers (ASP) • Application Service Providers หมายถึงAgent หรือ vendor ผู้ซึ่งรวบรวมซอฟแวร์ตามความต้องการขององค์กร แล้วทำให้สำเร็จโดยอาศัย outsourced development, operations, maintenance, และ other services หรือ กล่าวง่ายๆว่า บริษัทที่เข้าไปดูว่า ท่านต้องการอะไร เมื่อรู้แล้วก็ไปจ้างบริษัทต่าง ๆทำให้จนแล้วเสร็จ แล้วก็เอามาขายให้ ท่าน Chapter 14
Criteria for determining which application development approach to use Chapter 14
System Development Alternatives Chapter 14
Additional criteria for selecting an ASP vendor • แนวทางการเลือก ASP ควรพิจารณาตามหัวข้อต่อไปนี้ • 1)รูปแบบของฐานข้อมูลและ portabilityควรจะสอดคล้องกับของเรา • 2) การประยุกต์ใช้และการเก็บข้อมูล กินเนื้อมากหรือไม่ การเพิ่ม Server ใหม่ เป็น การลงทุนสูง การใช้ร่วมกับผู้อื่นก็มีความเสี่ยงเกี่ยวกับความปลอดภัย • 3) ขอบเขตของการให้บริการ ต้องกำหนดให้ชัดเจน • 4) การให้บริการต่างๆในเชิงสนับสนุน เช่น การอบรม ช่องทางการติดต่อ • 5) การรวมสิ่งต่างๆเข้าด้วยกัน (integration) เช่น ERP, CRM ทำได้หรือไม่ ดีเพียงใด ให้ดูข้อมูลเพิ่มเติมในตารางในหน้าถัดไป Chapter 14
Advantages and Disadvantages Chapter 14
14.5 Vendor and software selection and other implementation issues • Martin et al. (2000) ได้กำหนดเอาไว้ 6 ขั้นตอน ในการเลือก software vendor และ application package. • ขั้นตอนที่ 1: บ่งชี้ potential vendors • ขั้นตอนที่ 2: กำหนด evaluation criteria • ขั้นตอนที่ 3: ประเมิน vendors และ packages • ขั้นตอนที่ 4: เลือก vendor และ package • ขั้นตอนที่ 5: เจรจาข้อตกลง Chapter 14
Criteria for selecting a software application package Chapter 14