280 likes | 638 Views
การบริหารจัดการเชื้อจุลินทรีย์ ตาม พระราชบัญญัติเชื้อโรค และ พิษจากสัตว์. มีผลบังคับใช้ สิงหาคม 2525 รมว . กระทรวงสาธารณสุข รักษาการตาม พ . ร . บ . นี้ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นผู้ออกใบอนุญาต. พ . ร . บ . เชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ . ศ .2525 และ 2544.
E N D
การบริหารจัดการเชื้อจุลินทรีย์ ตาม พระราชบัญญัติเชื้อโรค และ พิษจากสัตว์
มีผลบังคับใช้ สิงหาคม 2525 รมว.กระทรวงสาธารณสุข รักษาการตาม พ.ร.บ.นี้ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นผู้ออกใบอนุญาต พ.ร.บ.เชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ.2525 และ2544
พ.ร.บ.เชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ.2525 และ2544 เชื้อโรคหมายถึง 1. เชื้อจุลินทรีย์ 2. เชื้ออื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 3. ผลิตผลจากข้างต้น ทั้งนี้เฉพาะที่ทำให้เกิดโรคในคน ปศุสัตว์ สัตว์พาหนะ หรือสัตว์อื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง
พ.ร.บ.เชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ.2525 และ2544 พิษจากสัตว์หมายถึง พิษที่เกิดจากสัตว์ ที่ทำให้เกิดโรคในคน ปศุสัตว์ สัตว์พาหนะ หรือสัตว์อื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง เช่น พิษจากงู แมลง ปลาปักเป้า
พ.ร.บ.เชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ.2525 และ2544 ผลิต ครอบครอง จำหน่าย นำเข้า ส่งออก นำผ่าน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
องค์กรและการบริหาร • การจัดโครงสร้าง • ภารกิจ • การมอบอำนาจหน้าที่ การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
ระบบบริหารจัดการความปลอดภัย/ความมั่นคงระบบบริหารจัดการความปลอดภัย/ความมั่นคง • Lay out แสดงพื้นที่ใช้งาน ห้องปฏิบัติการ • แผนภูมิโครงสร้างองค์กร • บัญชีรายชื่อ : บุคลากร เอกสาร เครื่องมือ อุปกรณ์ • บัญชีรายชื่อบัญชีรายชื่อเชื้อโรค และพิษจากสัตว์ การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
3. การควบคุมเอกสาร จัดทำวิธีปฏิบัติในการควบคุมเอกสาร เอกสารภายใน เอกสารภายนอก การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
เอกสารภายใน : 6 ฉบับ - คู่มือคุณภาพ - การจัดการความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ - การบริหารจัดการวัสดุอ้างอิงรับรอง วัสดุอ้างอิง และสารชีวภาพ - เก็บรักษาและการใช้งานเชื้อจุลินทรีย์มาตรฐานในห้องปฏิบัติการ เอกสารภายนอก : Text Guideline การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
4. การจัดซื้อวัสดุ น้ำยา การคัดเลือก การประเมิน จัดทำบัญชี การบันทึก การตรวจสอบ : คุณสมบัติ หลักฐานการได้มา ระบบการควบคุม การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
5. การตรวจหา และควบคุมสิ่งที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน/ปฏิบัติการแก้ไข มอบหมายผู้รับผิดชอบ รวบรวม ทบทวนหาแนวโน้ม การป้องกัน การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
6. ปฏิบัติการป้องกัน/การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง วิธีปฏิบัติการป้องกัน (ประเมินความเสี่ยง) ทบทวน ดูแนวโน้ม วิเคราะห์ความเสี่ยง จัดทำแผนปฏิบัติการปรับปรุง บันทึกสิ่งที่ได้ดำเนินการ การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
7. การบันทึก และการควบคุม 8. การตรวจติดตามภายใน 9. การทบทวนระบบบริหารจัดการ การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
10. บุคลากร ประวัติบุคคล วุฒิการศึกษา หน้าที่ความรับผิดชอบ การอบรม ประสบการณ์ ความสามารถ การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
11. สถานที่ และสภาวะแวดล้อม พื้นที่ใช้งาน/จัดเก็บเป็นไปตามคุณลักษณะเชื้อโรค และพิษจากสัตว์ ไม่มีผลกระทบต่อคุณภาพงาน มีความปลอดภัยต่อ ผู้ทดสอบ การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
12. เครื่องมือ เหมาะสมตามคุณลักษณะเชื้อโรค และพิษจากสัตว์ มีโปรแกรมสอบเทียบ ตรวจสอบการทำงาน บำรุงรักษา กำหนดผู้รับผิดชอบ การบันทึก การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
13. วิธีปฏิบัติการเชื้อโรค และพิษจากสัตว์ การทดสอบ : ใช้วิธีที่ตรวจสอบความถูกต้องแล้ว ใช้ Good microbiological techniques การขนส่ง : Triple packaging system การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
14. วิธีดำเนินการภายหลังการทดสอบ/วิจัย เก็บรักษาตามนโยบายที่กำหนด ทำลายเชื้อโรค และพิษจากสัตว์ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง บันทึก การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
15. การรายงานข้อมูลการผลิต ครอบครอง จำหน่าย นำเข้า ส่งออก ซึ่งเชื้อโรค และพิษจากสัตว์ ตามแบบรายงาน และระยะเวลาที่กำหนด การบริหารจัดการความปลอดภัย ตามพระราชบัญญัติเชื้อโรค และพิษจากสัตว์
ห้องปฏิบัติการ • ห้ามกวาด เนื่องจากจะทำให้เกิดการฟุ้งกระจาย • พื้นที่ใช้งาน • ใช้ 70% Alcohol หรือ Disinfectant อื่นๆที่เหมาะสม • 3.เครื่องมือ อุปกรณ์ • ต้องทำการฆ่าเชื้อที่ปนเปื้อนก่อนการนำไปทำความสะอาด การทำความสะอาด
ห้องปฏิบัติการ • ห้ามกวาด เนื่องจากจะทำให้เกิดการฟุ้งกระจาย • พื้นที่ใช้งาน • ใช้ 70% Alcohol หรือ Disinfectant อื่นๆที่เหมาะสม • 3.เครื่องมือ อุปกรณ์ • ต้องทำการฆ่าเชื้อที่ปนเปื้อนก่อนการนำไปทำความสะอาด การทำความสะอาด
CWA 15793, 2008, CEN. • Laboratory Biosafety Manual, 3rd edition, WHO. • Laboratory Safety: Principles and Practises, 2nd edition, American Society for Micribiology; Washington, DC. เอกสารอ้างอิง