1 / 14

มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ การประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ในประเทศไทย

มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ การประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ในประเทศไทย. โดย มานพ วรรณะเอี่ยมพิกุล. บจก.เดอะแวลูเอชั่น แอนด์ คอนซัลแทนท์ส. สมาคมนักประเมินราคาอิสระไทย. โครงสร้างมาตรฐานและจรรยาบรรณ. จรรยาบรรณวิชาชีพ - 6 เรื่อง นิยาม - เน้นเฉพาะคำที่ใช้ในมาตรฐานวิชาชีพการประเมิน

axl
Download Presentation

มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ การประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ในประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ การประเมินมูลค่าทรัพย์สินในประเทศไทย โดย มานพ วรรณะเอี่ยมพิกุล บจก.เดอะแวลูเอชั่น แอนด์ คอนซัลแทนท์ส สมาคมนักประเมินราคาอิสระไทย

  2. โครงสร้างมาตรฐานและจรรยาบรรณโครงสร้างมาตรฐานและจรรยาบรรณ จรรยาบรรณวิชาชีพ - 6 เรื่อง นิยาม - เน้นเฉพาะคำที่ใช้ในมาตรฐานวิชาชีพการประเมิน มาตรฐานวิชาชีพการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน - 13 เรื่อง

  3. มาตรฐานวิชาชีพ 13 เรื่อง 1. คุณสมบัติผู้ประเมิน 2.หลักเกณฑ์การประเมินเพื่อกำหนดมูลค่าตลาด 3.หลักเกณฑ์การประเมินที่มิใช่การกำหนดมูลค่าตลาด 4.คำสั่งและเงื่อนไขในการว่าจ้างงาน 5.วัตถุประสงค์ของการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน 6.ความเพียงพอของข้อมูลที่ใช้ในการประเมินฯ

  4. มาตรฐานวิชาชีพ 13 เรื่อง 7.การสำรวจและตรวจสอบทรัพย์สินที่ประเมิน 8.วิธีการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน 9.สมมติฐาน เงื่อนไข และข้อจำกัดในการประเมินฯ 10.รายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน 11.การสอบทานการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน 12.การเก็บรักษาเอกสารและข้อมูลประกอบการประเมินฯ 13.การใช้ข้อมูลเกี่ยวกับขนาดของที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง

  5. Management Risk Design & Construction คุณสมบัติผู้ประเมินอสังหาริมทรัพย์ Economic & Finance Technology Engineering & Development Law & thic Valuations & Investment

  6. มาตรฐานวิชาชีพ เรื่องที่ 7 การสำรวจและตรวจสอบทรัพย์สินที่ประเมิน • สำรวจและตรวจสอบทรัพย์สิน • ตรวจสอบสิทธิครอบครองและที่ตั้งของทรัพย์สิน • การสำรวจอาคารและสิ่งปลูกสร้าง

  7. การสำรวจและตรวจสอบทรัพย์สินที่ประเมิน (ต่อ) 7.1 ต้องสำรวจและตรวจสอบทรัพย์สิน ณ บริเวณที่ตั้งด้วยตนเอง 7.2 การตรวจสอบสิทธิครอบครองและที่ตั้งของทรัพย์สิน 7.2.1 ตรวจสอบเอกสารสิทธิ์และข้อจำกัดการใช้ประโยชน์ 7.2.2 ตรวจสอบตำแหน่งที่ดินอาคารสิ่งปลูกสร้าง 7.2.3 ตรวจสอบสภาพแวดล้อม 7.2.4 ตรวจสอบการใช้ประโยชน์ของทรัพย์สิน

  8. การสำรวจและตรวจสอบทรัพย์สินที่ประเมิน (ต่อ) 7.3 การสำรวจอาคารและสิ่งปลูกสร้าง 7.3.1 สำรวจทั้งภายในและภายนอกอาคาร รวมถึงงานระบบในอาคาร 7.3.2 ต้องสอบวัดขนาดของอาคาร สิ่งปลูกสร้าง ด้วยความระมัดระวัง 7.3.3 ให้ความเห็นเกี่ยวกับสภาพของทรัพย์สิน 7.3.4 ต้องจำแนกส่วนคาบเกี่ยวของงานอาคาร และงานระบบภายในอาคาร

  9. การสำรวจและตรวจสอบทรัพย์สินที่ประเมิน (ต่อ) 7.3.5 ตรวจสอบสิทธิ์ครอบครอง หรือการใช้ประโยชน์ ของอาคาร 7.3.6 ต้องพิจารณากรณีขาดข้อมูลสำคัญ จนต้องตั้งสมมุติฐานพิเศษ(ได้/ไม่ได้) 7.3.7 ไม่ต้องตรวจสอบเอกสารสิทธิ์ หากมีหนังสือยืนยัน 7.3.8 กรณีผู้ประเมินเข้าสำรวจภายในทรัพย์สินไม่ได้

  10. มาตรฐานวิชาชีพเรื่องที่ 8 วิธีการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน

  11. วิธีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินวิธีการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน การประเมินมูลค่าทรัพย์สินตามหลักเกณฑ์เพื่อกำหนด มูลค่าตลาด ผู้ประเมินต้องใช้วิธีการประเมินตามหลักเกณฑ์ ซึ่ง ได้แก่ - วิธีเปรียบเทียบตลาด

  12. วิธีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินวิธีการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน - วิธีพิจารณาจากรายได้

  13. วิธีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินวิธีการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน - วิธีคิดจากต้นทุน

  14. วิธีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินวิธีการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน - วิธีคำนวณมูลค่าคงเหลือสุทธิ

More Related