1 / 44

บทที่1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

บทที่1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต.

Download Presentation

บทที่1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่1ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่1ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

  2. บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต1.1 สิ่งมีชีวิตคืออะไร 1.1.1 สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์ 1.1.2 สิ่งมีชีวิตต้องการสารอาหารและพลังงาน 1.1.3 สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัยและขนาดจำกัด 1.1.4 สิ่งมีชีวิตมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า 1.1.5 สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 1.1.6 สิ่งมีชีวิตมีลักษณะจำเพาะ 1.1.7 สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ 1.2 ชีววิทยาคืออะไร1.3 ชีววิทยากับการดำรงชีวิต 1.4 ชีวจริยธรรม

  3. ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต • การได้มาซึ่งอาหาร (nutrition) • การหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration) • การสังเคราะห์ (synthesis) • การสืบพันธุ์ (reproduction) • การปรับตัวและวิวัฒนาการ ( adaptation and evolution )

  4. 1.1 สิ่งมีชีวิตคืออะไร 1.1.1 สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์ 1.1.2 สิ่งมีชีวิตต้องการสารอาหารและพลังงาน 1.1.3 สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัยและขนาดจำกัด 1.1.4 สิ่งมีชีวิตมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า 1.1.5 สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 1.1.6 สิ่งมีชีวิตมีลักษณะจำเพาะ 1.1.7 สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ

  5. สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์ (Reproduction) • Asexual Reproduction

  6. Fragmentation experiments with Planaria (flatworms) http://faculty.uca.edu/~johnc/animal_structure_and_function.htm

  7. Sexual Reproduction

  8. External http://faculty.uca.edu/~johnc/animal_structure_and_function.htm

  9. Internal http://faculty.uca.edu/~johnc/animal_structure_and_function.htm

  10. Is it reproduction ?

  11. Is it reproduction ? http://www.microscope-microscope.org/gallery/Mark-Simmons/pages/hydra2.htm

  12. สิ่งมีชีวิตต้องการสารอาหารและพลังงาน สิ่งมีชีวิตต้องการสารอาหารและพลังงาน • แคแทบอลิซึม (catabolism) • แอแนบอลิซึม (anabolism) http://webs.wichita.edu/mschneegurt/biol103/lecture02/lecture2.html

  13. สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัยและขนาดจำกัด

  14. สิ่งมีชีวิตมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าสิ่งมีชีวิตมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า

  15. สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของร่างกายสิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของร่างกาย

  16. สิ่งมีชีวิตมีลักษณะจำเพาะสิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบสิ่งมีชีวิตมีลักษณะจำเพาะสิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ

  17. ชีววิทยาคืออะไร

  18. ชีววิทยาคืออะไร • Biology  มาจากคำภาษากรีก - Bios  (ชีวิต , สิ่งมีชีวิต)  และ- logos (กล่าวถึง , ศึกษา , วิชา , ความคิด , การมีเหตุผล) • Biology  หรือ ชีววิทยา จึงหมายถึง วิชาที่ศึกษาสิ่งมีชีวิต

  19. ชีววิทยาคืออะไร ชีววิทยาเป็นการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต ชีววิทยามีหลายสาขา ได้แก่ • 1. การศึกษาสิ่งมีชีวิตและกลุ่มของสิ่งมีชีวิต • สัตววิทยา (Zoology ) ศึกษาเรื่องราวต่างๆ ของสัตว์ • พฤกษศาสตร์ (botany) ศึกษาเรื่องราวต่างๆ ของพืช • จุลชีววิทยา (microbiology) การศึกษาเรื่องรางต่างๆ ของจุลินทรีย์ • 2. การศึกษาจากโครงสร้างหน้าที่และการทำงานของสิ่งมีชีวิต • 3. การศึกษาเรื่องราวของสิ่งมีชีวิต

  20. การศึกษาสิ่งมีชีวิตและกลุ่มของสิ่งมีชีวิต- สัตววิทยา ( zoology ) เช่น1. สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (invertebrate)2. สัตว์มีกระดูกสันหลัง (vertebrate)3. มีนวิทยา (ichthyology) 4. สังขวิทยา (malacology)5. ปักษินวิทยา (ornithology)6. วิทยาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม (mammalogy)7. กีฏวิทยา (entomology) 8. วิทยาเห็บไร (acarology)

  21. 1. การศึกษาสิ่งมีชีวิตและกลุ่มของสิ่งมีชีวิต- พฤกษศาสตร์ (botany) เช่น1. พืชชั้นต่ำ (lowerplant)2. พืชมีท่อลำเลียง (vascular plant)3. พืชมีดอก (angiosperm)

  22. 1. การศึกษาสิ่งมีชีวิตและกลุ่มของสิ่งมีชีวิต - จุลชีววิทยา (microbiology) เช่น1. วิทยาแบคทีเรีย (bacteriology) 2. วิทยาไวรัส (virology) 3. ราวิทยา (mycology) 4. วิทยาสัตว์เซลล์เดียว (protozoology)

  23. การศึกษาจากโครงสร้างหน้าที่และการทำงานของสิ่งมีชีวิต1. กายวิภาคศาสตร์ (anatomy) 2. สัณฐานวิทยา (morphology)3. สรีรวิทยา (physiology) 4. พันธุศาสตร์ (genetics)5. นิเวศวิทยา (ecology) 6. มิชญวิทยาหรือเนื้อเยื่อวิทยา (histology)7. วิทยาเอมบริโอ (embryology) 8. วิทยาเซลล์ (cytology) 9. วิทยาเอนโดคริน (endocrinology)

  24. การศึกษาเรื่องราวของสิ่งมีชีวิต เช่น1. อนุกรมวิธาน (taxonomy) 2. วิวัฒนาการ (evolution)3. บรรพชีวินวิทยา (paleontology)

  25. ชีววิทยากับการดำรงชีวิตชีววิทยากับการดำรงชีวิต

  26. - การผลิตฮอร์โมนอินซูลินจากยีสต์เพื่อรักษาโรคเบาหวานในคน- การผลิตกรดอะมิโนจำเป็นโดยแบคทีเรีย - การผลิตสาหร่ายสไปรูไลนาซึ่งมีโปรตีนสูง- การพัฒนาทางด้านพันธุวิศวกรรม (genetic engineering)- การพัฒนาเทคนิคทางด้าน DNA เพื่อนำมาใช้ในการตรวจหาสายสัมพันธ์ของพ่อแม่ลูก และใช้ในการสืบสวนสอบสวนทางคดีของแพทย์และตำรวจได้เป็นอย่างดี

  27. - การศึกษาทางด้านพืชสมุนไพรสามารถนำมาผลิตเป็นยาแผนโบราณใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ ได้- การผสมเทียมในหลอดแก้ว แล้วถ่ายฝากตัวอ่อน ( In Vitro Fertilization-Embryo Transfer ) - การนำเซลล์สืบพันธุ์ไปใส่ที่ท่อนำไข่หรือที่เรียกว่ากิ๊ฟ ( GFT หรือ Gamete Intrafallopian Transfer )- การทำอิ๊กซี่ ( ICSI หรือ Intracytoplasmic Sperm Injection ) - การทำโคลนนิ่ง ( Cloning ) เป็นต้น

  28. ชีวจริยธรรม

  29. ชีวจริยธรรม (bioethics) • ชีวจริยธรรม (bioethics)หมายถึง การปฏิบัติต่อสิ่งมีชีวิตอย่างมีคุณธรรม ไม่ทำร้าย หรือทำอันตรายต่อสัตว์ หรือมนุษย์เพื่อการศึกษาหรือการวิจัย เช่น

  30. ชีวจริยธรรม (bioethics) • จรรยาบรรณในการใช้สัตว์ทดลอง • อาวุธชีวภาพ • การโคลนมนุษย์ (cloning) • การทำแท้ง • สิ่งมีชีวิต GMOs • ทัวร์อวสานชีวิต/กรุณพิฆาต • และอื่น ๆ

  31. จรรยาบรรณในการใช้สัตว์ทดลองจรรยาบรรณในการใช้สัตว์ทดลอง สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ได้กำหนดจรรยาบรรณการใช้สัตว์เพื่องานวิจัย งานสอน งานทดสอบ และงานผลิตชีววัตถุไว้ดังนี้ • 1. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์ • 2. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงความแม่นยำของผลงานโดยใช้สัตว์จำนวนน้อยที่สุด • 3. การใช้สัตว์ป่าต้องไม่ขัดต่อกฎหมายและนโยบายการอนุรักษ์ป่า • 4. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักว่าสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกับมนุษย์ • 5. ผู้ใช้สัตว์ต้องบันทึกการปฏิบัติต่อสัตว์ไว้เป็นหลักฐานอย่างครบถ้วน การกำกับดูแลให้ผู้ใช้สัตว์ปฏิบัติตามจรรยาบรรณการใช้สัตว์ ทั้งระดับองค์กร และระดับชาติ ต้องจัดให้มีคณะกรรมการกำกับติดตามดูแลรับผิดชอบ เช่น ในระดับชาติได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ และกองบรรณาธิการของวารสารที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย

  32. อาวุธชีวภาพ • เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนำเอาสิ่งมีชีวิตหรือชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิตมาปรับปรุงทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์มากขึ้นโดยใช้เทคโนโลยี  เทคโนโลยีชีวภาพก็เหมือนเทคโนโลยีอื่นๆ ที่มีผู้นำประโยชน์ของเทคโนโลยีไปใช้ในทางลบ เช่น นำเอาสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายต่อพืช สัตว์ โดยเฉพาะมนุษย์มาใช้เป็นอาวุธทำลายล้างกัน ที่เรียกว่าอาวุธชีวภาพ • อาวุธชีวภาพ เป็นมหันตภัยที่คุกคามมวลมนุษย์อย่างมาก สิ่งมีชีวิตที่นำมาใช้เป็นอาวุธชีวภาพได้แก่พวกจุลินทรีย์ ที่เป็นเชื้อโรค รวมทั้งชิ้นส่วนของจุลินทรีย์ เช่น สปอร์ หรือเส้นใยของราหรือแบคทีเรีย รวมทั้งพรีออน ( Prion : เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดโรคที่ไม่ใช่เซลล์และไม่มีสารพันธุกรรมมีแต่โปรตีน) และสารพิษที่สกัดจากสิ่งมีชีวิต

  33. อาวุธชีวภาพ ยกตัวอย่างอาวุธชีวภาพสัก 2 - 3 ชนิด • Antrax หรือ โรคกาลี เป็นเชื้อแบคทีเรียที่เป็นรูปแท่ง ทำให้เกิดโรคระบาดในสัตว์ส่วนใหญ่เป็นสัตว์กินหญ้า เช่น โค กระบือ และติดต่อมาถึงคน • Smallpox หรือ ไข้ทรพิษ เป็นเชื้อไวรัสที่อยู่ในสภาพแห้งหรืออุณหภูมิได้นาน • Botulism เป็นแบคทีเรียรูปแท่ง สามารถสร้างสารพิษที่มีผลต่อระบบประสาททำให้เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ รวมทั้งกล้ามเนื้อหัวใจ ติดต่อกันได้ทางการกินและบาดแผล เช่น กินอาหารกระป๋องที่มีพิษของแบคทีเรียนี้เข้าไปอาจทำให้ตายได้ พบว่าเพียง 1 กรัม ทำให้คนตายได้ถึง 1.5 ล้านคน อาวุธชีวภาพมีฤทธิ์และพิษภัยร้ายแรงมากกว่าสารเคมีหลายเท่า เรามอง ไม่เห็น ไม่รู้รส และไม่ได้กลิ่น รับเข้าสู่ร่างกายโดยไม่รู้ตัว การป้องกันจึงทำได้ยาก

  34. การโคลนมนุษย์ • โคลนนิ่ง (cloning) หรือการโคลน หมายถึง การคัดลอกหรือการทำซ้ำ (copy) • ในทางชีววิทยา หมายถึง การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนเดิมทุกประการ • การโคลนมนุษย์ เป็นประเด็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันมาก เพราะมนุษย์ที่เกิดจากการโคลนไม่มีพ่อและแม่ที่แท้จริง และอาจมีอุปนิสัยใจคอต่างไป แม้จะมีรูปร่างหน้าตาเหมือนกับบุคคลเจ้าของเซลล์ต้นกำเนิด อาจก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม • ในวงการแพทย์มีการวิจัยการโคลนเอ็มบริโอของคน โดยมีเป้าประสงค์เพื่อนำอวัยวะไปทดแทนผู้ป่วย เช่น ไต เป็นต้น • แต่ก็เป็นการทำให้มนุษย์โคลนมีอวัยวะไม่ครบ บางประเทศจึงไม่สนับสนุน โดยเหตุนี้ทุกประเทศทั่วโลกจึงห้ามการโคลนมนุษย์ • แต่บางประเทศได้ร่างกฎหมายเกี่ยวกับชีวจริยศาสตร์เพื่อขออนุญาตให้ใช้ตัวอ่อนมนุษย์ในการทำวิจัย เช่น ฝรั่งเศส อังกฤษ จีน และญี่ปุ่น

  35. การทำแท้ง • ตามหลักศาสนา ถือว่าการทำแท้งเป็นสิ่งไม่ดี ผิดศีลธรรม เป็นบาป • แต่เมื่อไม่นานใน USA มีบางกลุ่มถือว่าการท้องเป็นเรื่องส่วนตัว และกล่าวว่าเด็กในครรภ์เป็นส่วนหนึ่งของอวัยวะสตรี จึงมีสิทธิที่จะเลือกให้เด็กอยู่ในครรภ์หรือไม่ กลุ่มนี้เรียกว่า พวก pro-choice • ส่วนกลุ่มตรงข้ามมีความเห็นว่าเด็กในครรภ์เป็นสิ่งมีชีวิตที่จะถือกำเนิดมาเป็นมนุษย์ การทำแท้งถือเป็นฆาตกรรมอย่างหนึ่ง ความเห็นของกลุ่มนี้เรียกว่า pro-life • ในประเทศไทยมีการอนุมัติให้ขายยา RU 486 ที่ทำให้เกิดการแท้ง และมีกฎหมายอนุญาตให้ทำแท้งได้ 2 กรณี คือ • 1.สุขภาพกาย สุขภาพจิตของหญิงผู้เป็นแม่ และสุขภาพของทารกในครรภ์ ไม่ดี เช่น ติดเชื้อ HIV เป็นโรคต่อมไร้ท่อ โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคธาลัสซีเมีย มีภาวะปัญญาอ่อน • 2. การตั้งครรภ์เพราะถูกข่มขืน

  36. สิ่งมีชีวิต GMOs • สิ่งมีชีวิต GMOs หรือสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรม GMOs มาจากคำว่า genetically modified organisms หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่มีการตัดและต่อยีนด้วยเทคนิคพันธุวิศวกรรม (genetic engineering) ทำให้มีลักษณะพันธุกรรมตามที่ต้องการ มีประโยชน์ ดังเช่น 1.สารที่ผลิตโดยจุลินทรีย์แปลงพันธุ์ มีหลายชนิดมีประโยชน์ เช่น ช่วยขยายหลอดเลือด ฟื้นฟูกระดูกภายหลัง การปลูกถ่ายไขกระดูก ลดน้ำหนองในปอดของคนไข้ กระตุ้นการสร้างเนื้อเยื่อที่เกิดจากบาดแผลไฟไหม้ กระตุ้นการสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง ช่วยแก้ความเป็นหมัน ช่วยในการดูดซึมกลูโคส ฯลฯ 2. สารที่ผลิตโดยพืชแปลงพันธุ์ มีหลายชนิด เช่นแครอท ทำให้เนื้อเหนียวขึ้น มะเขือเทศ ช่วยควบคุมการสุกของผล มะละกอมีความทนทานต่อไวรัสโรคใบด่าง ผักกาดหอมต้านทานต่อโรค ทานตะวันทำให้เมล็ดมีโปรตีนเพิ่มขึ้น ข้าวโพดทนทานต่อยาปราบวัชพืช ฯลฯ 3. สารที่ผลิตโดยสัตว์แปลงพันธุ์ มีหลายชนิด เช่นวัวผลิต GH ฮอร์โมนช่วยเพิ่มผลผลิตน้ำนม หนูผลิต GH ของคนช่วยเพิ่มความสูงของคนเตี้ยแคระ กระต่ายผลิตสาร EPO กระตุ้นการสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงสำหรับคนป่วยโรคโลหิตจางเนื่องจากไตวาย เป็นต้น

  37. สิ่งมีชีวิต GMOs • อันตรายจากอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (GE foods หรือ GM foods) แม้จะยังไม่มีข้อมูลรายงานชัดเจน แต่ก็ก่อให้เกิดความหวั่นวิตก และเกรงจะเกิดภัยอันตรายแก่มนุษย์ • แม้ว่าศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ ได้พยายามชี้แจงว่าผลิตภัณฑ์ GMO ยังไม่เกิดอันตรายอย่างเด่นชัด • แต่เราในฐานะผู้บริโภคควรระวังตนไว้ก่อน สิ่งใดมีคุณอนันต์ก็อาจก่อให้เกิดผลเสียอย่างมหันต์ได้ ถ้าไม่จำเป็นก็ควรหลีกเลี่ยงการบริโภค หรือถ้าบริโภคก็ไม่ควรซ้ำ ๆ ต่อเนื่องกัน

  38. ทัวร์อวสานชีวิต/กรุณพิฆาตทัวร์อวสานชีวิต/กรุณพิฆาต • ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีบริการให้ผู้ป่วยที่ไม่ปรารถนาจะมีชีวิตอยู่ไปได้จบชีวิตลงอย่างสงบ • ดำเนินการโดยมูลนิธิการกุศลแห่งหนึ่ง เป็นการกระทำที่ถูกต้องตามกฎหมาย • มีทั้งชาวสวิตและชาวต่างชาติเดินทางมาใช้บริการไปแล้วประมาณ 150 ราย • กรณีนี้ยังไม่เป็นที่ยอมรับสำหรับประเทศอื่น ๆ ถือเป็นปัญหาชีวจริยธรรมที่ต้องพิจารณากันอย่างรอบคอบ

  39. อื่น ๆ เช่น • การใช้สารเร่งการเจริญเติบโตในพืชหรือในสัตว์อันจะก่อให้เกิดสารตกค้างได้ ซึ่งจะมีผลเสียต่อผู้บริโภคได้ • การใช้สารฟอร์มาลิน  ในการแช่ผัก ปลา  หรือเนื้อ ช่วยให้ผัก ปลา และเนื้อ การใช้สารบอร์แรกซ์ใส่ในลูกชิ้นเด้ง  การฉีดดีดีทีให้แก่ ปลาเค็ม เนื้อเค็ม ก็มีผลเสียต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น

  40. References • http://61.19.145.7/student/science401/bio/bio1-2/intro.html • http://www.ipst.ac.th/biology/Bio-Articles/mag-content14.html

  41. Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology Department of science St. Louis College Chachoengsao

More Related