750 likes | 1.1k Views
IP & Subnet & Routing. Part I: Subnetting IP Management Case Study Part II: Routing (Introduction). Today Topics. Part I: Subnetting IP Management Case Study Part II: Routing (Introduction) HW 4 Due Next Week. Decimal representation of Internet addresses. octet 1. octet 2. octet 3.
E N D
IP & Subnet & Routing Part I:Subnetting IP Management Case Study Part II: Routing (Introduction)
Today Topics • Part I:Subnetting • IP Management Case Study • Part II: Routing (Introduction) • HW 4 Due Next Week
Decimal representation of Internet addresses octet 1 octet 2 octet 3 Range of addresses Network ID Host ID 1.0.0.0 to Class A: 1 to 127 0 to 255 0 to 255 0 to 255 127.255.255.255 Network ID Host ID 128.0.0.0 to Class B: 128 to 191 0 to 255 0 to 255 0 to 255 191.255.255.255 Network ID Host ID 192.0.0.0 to Class C: 0 to 255 0 to 255 1 to 254 192 to 223 223.255.255.255 Multicast address Multicast address 224.0.0.0 to Class D (multicast): 224 to 239 0 to 255 0 to 255 1 to 254 239.255.255.255 240.0.0.0 to Class E (reserved): 240 to 255 0 to 255 0 to 255 1 to 254 255.255.255.255
IP ไม่พอใช้งาน • การแก้ปัญหา • กำหนด Private IP ใช้ภายในองค์กร แต่ละองค์กรสามารถนำไปใช้ซ้ำกันได้ แต่ IP เหล่านี้จะต่อออก Internet โดยตรงไม่ได้ ต้องเปลี่ยนเป็น IP ที่ต่อออกได้ ผ่านอุปกรณ์ Network Address Translator (NAT) • RFC 1918 • 10.0.0.0 – 10.255.255.255 = 1 Class A • 172.16.0.0 – 172.31.255.255 = 16 Class B • 192.168.0.0-192.168.255.255 = 256 Class C • กำหนด Network ID ไม่เป็นตาม Class แต่จะแบ่งเท่าที่จำเป็นต่อการใช้งาน โดยเขียน IP Address คู่ไปกับ Subnet Mask เพื่อบ่งบอกส่วนของ Network ID
Subnets and Subnet Masks • วิธีแก้ ไม่ใช้ Class ที่กำหนดให้ เราสามารถกำหนดขนาด Network ให้ใหญ่หรือเล็กตามที่เราต้องการ • แต่เราต้องบอกอุปกรณ์ (Router, PC) เองว่าส่วนใหนเป็น Network ID เพราะจะดูจากหมายเลข IP ในส่วนต้นเพื่อจะดูว่าเป็น Class ไหนไม่ได้แล้ว • ใช้ Subnet Mask กำหนด คือ Bit ที่เป็น 1 เริ่มจากซ้ายมือติดต่อกันจะกำหนดส่วนของ Network ID • วิธีนี้จะไม่มี Class เราเรียก Classless และการกำหนด IP Address จะใช้คู่กับ Subnet Mask เสมอ • เสมือนกับว่าเราแบ่ง IP Class เดิม ออกเป็น Subnetwork ย่อยๆ ดังนั้นบางครั้งเราใช้คำว่า Subnet แทนคำว่า Network และวิธีการนี้เรียกการทำ Subnetting
Default Subnet Mask • สำหรับ Classful IP ที่กำหนดตามมาตรฐาน • Class A กำหนด 8 Bit แรกคือ NW ID อีก 24 Bit หลังคือ Host ID ดังนั้นค่า Default Subnet สำหรับ Class A คือ • 1111 1111 0000 0000 0000 0000 0000 0000 • หรือเขียนเป็น 255.0.0.0 หรือเขียนย่อเป็น /8 • Class B กำหนด 16 Bit แรกคือ NW ID อีก 16 Bit หลังคือ Host ID ดังนั้นค่า Default Subnet สำหรับ Class B คือ • 1111 1111 1111 1111 0000 0000 0000 0000 • หรือเขียนเป็น 255.255.0.0 หรือเขียนย่อเป็น /16 • Class C กำหนด 24 Bit แรกคือ NW ID อีก 8 Bit หลังคือ Host ID ดังนั้นค่า Default Subnet สำหรับ Class C คือ • 1111 1111 1111 1111 1111 1111 0000 0000 • หรือเขียนเป็น 255.255.255.0 หรือเขียนย่อเป็น /24
การใช้ Subnet Mask • เสมือนกับเราแบ่ง NW Class เดิมออกเป็น Subnetwork ย่อย • ทำโดยเพิ่มบิตที่เป็น 1 ใน Subnet Mask • NW ID จะเปลี่ยนไป • Host ID จะปลี่ยน • Host ID Range จะเปลี่ยน • NW มีขนาดเล็กลง (เป็นกำลังของ 2) • จำนวน NW มีเพิ่มขึ้น • บิตที่เป็น 1 ใน Subnet Mask จะเริ่มจากซ้ายมือ และจะต้องติดต่อกัน จะคั่นด้วย 0 ไม่ได้ ส่วนบิตที่เป็น 0 จะเริ่มจากขวามือ และต้องติดต่อกันจะคั่นด้วย 1 ไม่ได้
การอ่าน Subnet • ต้องใช้ IP Address คู่กับ Subnet Mask เสมอ • มีขั้นตอนดังนี้ • แปลง IP Address เป็นเลขฐาน 2 • แปลง Subnet Mask เป็นเลขฐาน 2 • ทำ Logical ‘AND’ ของ IP และ Subnet Mask • ผลที่ได้คือ NW ID • แปลง NW ID กลับในรูป IP Format • ส่วนของ Host ID คือ Bit ที่เหลือจาก NW ID
วิธีการแปลงเลขฐาน 10 อย่างเร็ว • ตัวเลขฐานสองแต่ละ Octet คือ 8 บิต • มีน้ำหนักตามลำดับดังนี้ • 128 64 32 16 8 4 2 1 • ถ้าเลขมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 128 ดังนั้น Bit แรกจะต้องเป็น 1 • นำ 128 มาหักลบกับเลขเดิม และทำต่อ • ถ้าเลขที่เหลือมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 64 ดังนั้น Bit ที่สองต้องเป็น 1 • นำ 64 มาหักลบกับเลขเดิม และทำต่อ • ทำต่อไปเรื่อยๆ ใช้หลักการเดียวกัน • หักลบด้วย 62 16 ... ตามลำดับ • ถ้าค่าเหลือน้อยกว่า 16 เราสามารถใช้ตารางมาเปรียบเทียบในเลขฐานสอง 4 หลักหลังได้
ข้อเสนอแนะ • ส่วน Octet ใน Net Mask ที่เป็น 255 • ทั้ง Octet จะเป็น NW ID ไม่มีความจำเป็นต้องแปลงเป็นฐาน 2 ให้เสียเวลา • ส่วน Octet ใน Net Mask ที่เป็น 0 • ทั้ง Octet จะเป็น Host ID ไม่มีความจำเป็นต้องแปลงเป็นฐาน 2 ให้เสียเวลา • แปลงเฉพาะส่วน Octet ใน NM ที่ไม่ใช่ 0 หรือ 255
Example 1 • จงหาว่า IP 57.89.156.58 /18 กับ IP 57.89.173.126 /18 อยู่ใน Subnet เดียวกันหรือไม่ ? • 57. 89. 1001 1100 .58 • 255.255. 1100 0000 .0 [1111 1111 1111 1111 1100 0000 0000 0000] • NW ID: 57.89. 1000 0000 .0= 57.89.128.0 • 57. 89. 1010 1101 .126 • 255.255. 1100 0000 .0 • NW ID: 57.89. 1000 0000 .0= 57.89.128.0 • เมื่อมี NW ID เหมือนกัน ดังนั้นจะอยู่ใน Subnet เดียวกัน
Question • จงหาว่า IP 57.89.174.58 /18 กับ IP 57.89.199.126 /18 อยู่ใน Subnet เดียวกันหรือไม่ ? • จงหาว่า IP 192.168.111.58 /26 กับ IP 192.168.111.66 /26 อยู่ใน Subnet เดียวกันหรือไม่ ?
Address Range ของแต่ละ Subnet • ดูจาก Host Bit • เริ่มจาก เมื่อ Host Bit เป็น 0 ทั้งหมด (Address นี้จะไม่ใช้) • สิ้นสุดที่ Host Bit เป็น 1 ทั้งหมด (Address นี้คือ Broadcast Address ของ Subnet นี้) • จำนวน Host ที่มีได้ใน Subnet นี้คือ 2n- 2 • n คือจำนวน Bit ที่กำหนดเป็น Host ID
Example 2 • กำหนด IP Address 192.168.247.239/28 จงหา Network ID และ Host ID Range ของ Network นี้ • 192.168.247. 11101111 • 255.255.255. 1111 0000 • 192.168.247. 11100000 • NW = 192.168.247.224, Host 0.0.0.15 • Host Range: • 192.168.247.1110 0000 – 192.168.247.1110 1111 • 192.168.247.1110 0001 – 192.168.247.1110 1110 • 192.168.247.225 – 192.168.247.238 • Note: IP Address ที่กำหนดในโจทย์ เป็น Broadcast Address ของ Subnet นี้
การแบ่ง NW Class เดิมโดยทำ Subnet • เมื่อกำหนด IP ที่เป็น Classful หรือทำ Subnet มาแล้ว และเราต้องการแบ่ง Network ที่ได้รับเดิม ให้เป็น Network ย่อยลงไปอีก • หลักการ • เพิ่มจำนวนบิตของ NM เพิ่มขึ้น • เพิ่ม 1 บิต จะแบ่ง NW เดิมเป็น 2 Subnet เท่าๆกัน • เพิ่ม 2 บิต จะแบ่ง NW เดิมเป็น 4 Subnet เท่าๆกัน • . • เพิ่ม n บิต จะแบ่ง NW เดิมเป็น 2n Subnet เท่าๆกัน • NW ID ใหม่ที่ได้ ได้จาก NW ID เดิม บวกกับ บิต ที่เพิ่มขึ้น ( สลับค่า 0 และ 1 ) • NW ID ใหม่ที่ได้ ยังคงอยู่ใน NW เดิม แต่เมื่อใช้ NM ใหม่ที่เพิ่มบิต จะมองเห็นเป็นคนละ Network
Example 3 • กำหนด NW 200.23.78.0 (Class C) จงหา Address Range ของ NW นี้ จากนั้นแบ่ง NW นี้ออกเป็น 8 ส่วน และหา Address Range, NM รวมทั้ง NW ID ของ NW ใหม่ที่ได้ • 200.23.78.0 /24 Class C • NM = 1111 1111. 1111 1111. 1111 1111. 0000 0000 • Address Range ก่อนทำ Subnet • 200.23.78.1 – 200.23.78.254 = 28 – 2 = 254 • แบ่งเป็น 8 ส่วน ต้องเพิ่ม NM อีก 3 บิต เป็น /27 • คือ 1111 1111. 1111 1111. 1111 1111. 1110 0000 • ดังนั้น NM = 255.255.255.224 • แต่ละ Subnet มี Host ได้ 25 – 2 = 30
Example 3 • 200.23.78.0 • 200.23.78.0000 0000 • 255.255.255. 1110 0000 (255.255.255.240) • NW ใหม่จะเป็น • 200.23.78. 0000 0000 = 200.23.78.0/27 • 200.23.78. 0010 0000 = 200.23.78.32/27 • 200.23.78. 0100 0000 = 200.23.78.64/27 • 200.23.78. 0110 0000 = 200.23.78.96/27 • 200.23.78. 1000 0000 = 200.23.78.128/27 • 200.23.78. 1010 0000 = 200.23.78.160/27 • 200.23.78. 1100 0000 = 200.23.78.192/27 • 200.23.78. 1110 0000 = 200.23.78.224/27
Example 3 • NW ใหม่จะเป็น • 200.23.78. 0000 0000 = 200.23.78.0/27 • IP Range: 200.23.78.0(1)-200.23.78.31(30) = 30 • 200.23.78. 0010 0000 = 200.23.78.32/27 • IP Range: 200.23.78.32(33)-200.23.78.63(62) = 30 • 200.23.78. 0100 0000 = 200.23.78.64/27 • IP Range: 200.23.78.64(65)-200.23.78.95(94) = 30 • 200.23.78. 0110 0000 = 200.23.78.96/27 • IP Range: 200.23.78.96(97)-200.23.78.127(126) = 30 • 200.23.78. 1000 0000 = 200.23.78.128/27 • IP Range: 200.23.78.128(129)-200.23.78.159(158) = 30 • 200.23.78. 1010 0000 = 200.23.78.160/27 • IP Range: 200.23.78.160(161)-200.23.78.191(190) = 30 • 200.23.78. 1100 0000 = 200.23.78.192/27 • IP Range: 200.23.78.192(193)-200.23.78.223(222) = 30 • 200.23.78. 1110 0000 = 200.23.78.224/27 • IP Range: 200.23.78.224(225)-200.23.78.255(254) = 30
Example 7 200.23.78.0 200.23.78.0 200.23.78.0/27 200.23.78.31 200.23.78.32 200.23.78.32/27 200.23.78.63 200.23.78.64 200.23.78.64/27 200.23.78.95 200.23.78.96 200.23.78.96/27 200.23.78.127 200.23.78.128 200.23.78.0/24 200.23.78.128/27 200.23.78.159 200.23.78.160 200.23.78.160/27 200.23.78.191 200.23.78.192 200.23.78.192/27 200.23.78.223 200.23.78.224 200.23.78.224/27 200.23.78.255 200.23.78.255
IP Address Management • การกำหนดหมายเลข IP ให้กับเครื่องใน Network • 2 ขั้นตอน แบ่ง Subnet กำหนด Network ID จากนั้นกำหนด Host ID โดยใช้ IP Range ใน Subnet นั้น • แบ่ง Network ออกเป็น Subnet เชื่อมต่อด้วย Router • แต่ละ Subnet จะต้องมี Network Address เดียว • PC ในแต่ละ Subnet จะต้องมี Network Address เหมือนกัน แต่ Host Address ต่างกัน • ส่วน Interface ของ Router จะเป็น Gateway สำหรับออกนอก Subnet ของ Subnet นั้น และจะต้องอยู่ใน Networkเดียวกันกับ Subnet นั้น • มี NW ID ของ Subnet นั้น และ Host ID ไม่ซ้ำกับเครื่องใน Subnet นั้น • การกำหนด Configuration ของ PC กำหนดด้วย IP, Subnet และ Gateway
Example 4 • จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 20 PC LAN 2 40 PC LAN 3 30 PC
Example 4 • จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 (20 PC) LAN 2 (40 PC) LAN 3 (30 PC) PC 1 PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 PC 1 PC 2 PC 30
Example 4 • จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 (20 PC) LAN 2 (40 PC) LAN 3 (30 PC) PC 1 PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 PC 1 PC 2 PC 30
Example 4 • จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 (20 PC) LAN 2 (40 PC) LAN 3 (30 PC) PC 1 PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 PC 1 PC 2 PC 30
Example 4 • จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 20 PC LAN 2 40 PC LAN 3 30 PC
Example 4 • จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 • 3 Subnet 20, 30 และ 40 PC บวก Gateway อีก Subnet ละหนึ่ง • ทำ Subnet • เพิ่ม 1 บิต แบ่งเป็น 2 Subnet แต่ละ NW มีได้ 126 IP • เพิ่ม 2 บิต แบ่งเป็น 4 Subnet แต่ละ NW มีได้ 62 IP • NM = /26 ดังนั้นจำนวน Bit สำหรับ Host = 6, 26=64 • เพิ่ม 3 บิต แบ่งเป็น 8 Subnet แต่ละ NW มีได้ 30 IP • เพิ่ม 4 บิต แบ่งเป็น 16 Subnet แต่ละ NW มีได้ 14 IP
Example 4 • จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 • 3 Subnet 20, 30 และ 40 PC บวก Gateway อีก Subnet ละหนึ่ง • ทำ Subnet เพิ่ม 2 บิต แบ่งเป็น 4 Subnet แต่ละ NW มีได้ 62 IP • NW 192.168.10.0/26; IP 192.168.10.0-63 • NW 192.168.10.64/26; IP 192.168.10.64-127 • NW 192.168.10.128/26; IP 192.168.10.128-191 • NW 192.168.10.192/26; IP 192.168.10.192-255 • อย่าลืมว่า IP แรกและสุดท้ายไม่ใช้
Example 4 • NW 192.168.10.0/26; IP 192.168.10.0-63 • NW 192.168.10.64/26; IP 192.168.10.64-127 • NW 192.168.10.128/26; IP 192.168.10.128-191 • NW 192.168.10.192/26; IP 192.168.10.192-255 • อย่าลืมว่า IP แรกและสุดท้ายไม่ใช้ • Assign แต่ละ Subnet ให้กับแต่ละ LAN • Assign IP Address ตาม IP Range ของ Subnet ให้กับแต่ละ PC ใน Subnet และ Gateway
Example 4 • จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 20 PC 192.168.10.0 /26 LAN 2 40 PC 192.168.10.64 /26 LAN 3 30 PC 192.168.10.128 /26
Example 4 • จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 (20 PC) 192.168.10.0/26 LAN 2 (40 PC) 192.168.10.64/26 PC 1 PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 LAN 3 (30 PC) 192.168.10.128/26 PC 1 PC 2 PC 30
Example 4 • จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 (20 PC) 192.168.10.0/26 LAN 2 (40 PC) 192.168.10.64/26 192.168.10.65 192.168.10.1 192.168.10.129 PC 1 PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 LAN 3 (30 PC) 192.168.10.128/26 PC 1 PC 2 PC 30
Example 4 • จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 (20 PC) 192.168.10.0/26 LAN 2 (40 PC) 192.168.10.64/26 192.168.10.65 192.168.10.1 192.168.10.129 PC 1 PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 192.168.10.2 - .21 192.168.10.65 - .104 LAN 3 (30 PC) 192.168.10.128/26 PC 1 PC 2 PC 30 192.168.10.130 - .159
Example 4 • Notes: • 1 มีเหลืออีก 1 Subnet ไม่ได้ใช้ สำหรับขยายในอนาคต • IP แต่ละ Subnet ยังมีเหลือ เผื่อไว้ขยายในอนาคต • บางกรณีมีหลายคำตอบในการแบ่ง Subnet LAN 1 (20 PC) 192.168.10.0/26 LAN 2 (40 PC) 192.168.10.64/26 192.168.10.65 192.168.10.1 192.168.10.129 PC 1 PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 192.168.10.2 - .21 192.168.10.65 - .104 LAN 3 (30 PC) 192.168.10.128/26 PC 1 PC 2 PC 30 192.168.10.130 - .159
IP Management • เป็นการแบ่ง Subnet จากนั้นกำหนดหมายเลข IP ให้กับอุปกรณ์ของแต่ละหน่วยงานขององค์กร • ภายใน Subnet คือ LAN วงเดียวกัน เชื่อมต่อกันด้วย Switch Layer 2 หรือ Hub • ระหว่าง Subnet คือคนละ Network จะเชื่อมต่อกันได้ด้วยอุปกรณ์ Layer 3 คือ Router (หรือ Switch Layer 3) • การส่งข้อมูลภายใน Network หรือ LAN จะใช้ MAC Address • การส่งข้อมูลข้าม Network จะผ่าน Router โดยทิศทางการส่งข้อมูลจะดูจาก Net ID ที่อยู่ใน IP Address • ภายใน Router จะมี Routing Table
IP Management • เป็นการแบ่ง Subnet จากนั้นกำหนดหมายเลข IP ให้กับอุปกรณ์ของแต่ละหน่วยงานขององค์กร • เนื่องจากองค์กรเป็น Hierarchy ดังนั้นการแบ่ง Subnet ควรจะทำเป็น Hierarchy ด้วย ตามโครงสร้างขององค์กร • ให้แน่ใจว่าแต่ละหน่วยงานย่อยท้ายสุดที่ต้องกำหนด IP Address จะมีหมายเลข Host เพียงพอต่อการใช้งาน
IP Management a.b.c.d/20 a.b.c.d/22 a.b.c.d/24 a.b.c.d/26
Case Study: IP Management • วิทยาลัยแห่งหนึ่งประกอบไปด้วย 4 อาคาร แต่ละอาคารประกอบด้วยหน่วยงานและจำนวนผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ดังนี้ • อาคาร 1 • ทะเบียน 15 คน • บุคคล 15 คน • การเงิน 15 คน • อาคาร 2 • เคมี 70 คน • คณิตศาสตร์ 50 คน • ฟิสิกค์ 40 คน • ชีววิทยา 50 คน
Case Study • อาคาร 3 • บัญชี 100 คน • สังคมศาสตร์ 50 คน • มนุษยศาสตร์ 75 คน • อาคาร 4 • วิศวกรรม 80 คน • ไอที 100 คน • ศิลปกรรม 60 คน • วิทยาลัยต้องการแบ่ง Subnet ของแต่ละหน่วยงาน และจัดสรร IP จาก 150.23.192.0/18 ที่ได้รับมา จงเสนอวิธีการจัดสรร IP ดังกล่าว
การคิด • จาก 150.23.192.0/18 ที่ได้ ทำ Subnet ในขั้นแรก เพิ่มอีก 2 บิตเป็น /20 เราได้ 4 subnet เพียงพอสำหรับอาคาร 1-4 • เราสามารถใช้ /21 ได้ 8 Subnet แต่ใช้แค่ 4 เหลือสำรองในอนาคตอีก 4 ก็ได้ • สมมุติว่าเราเลือก /21 เราจะได้ 8 Subnet ดังนี้
8 Subnet จาก 150.23.192.0/18 • 150.23. 1100 0000. 0 /21 • 150.23. 1100 1000. 0 /21 • 150.23. 1101 0000. 0 /21 • 150.23. 11011000. 0 /21 • 150.23. 1110 0000. 0 /21 • 150.23. 1110 1000. 0 /21 • 150.23. 1111 0000. 0 /21 • 150.23. 11111000. 0 /21
8 Subnet จาก 150.23.192.0/18 • สมมุติเราใช้ 4 Subnet แรก ที่เหลือเก็บไว้สำหรับการขยายในอนาคต ดังนี้ • 150.23. 1100 0000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 1 • 150.23. 1100 1000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 2 • 150.23. 1101 0000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 3 • 150.23. 11011000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 4
8 Subnet จาก 150.23.192.0/18 • สมมุติเราใช้ 4 Subnet แรก ที่เหลือเก็บไว้สำหรับการขยายในอนาคต ดังนี้ • 150.23. 1100 0000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 1 • อาคาร1 มีภายในอีก 3 หน่วยงาน เราแบ่ง Subnet ต่อ สมมุติใช้ /24 คือแบ่งเป็น 8 Subnet อีก แต่เราใช้แค่ 3 ที่เหลือสำหรับอนาคต • สังเกตว่า Host ที่มีได้ในแต่ละ Subnet ที่แบ่ง คือ /24 จะเท่ากับ 254 ซึ่งเพียงพอสำหรับแต่ละหน่วยงานย่อย • 150.23. 1100 0000. 0 /24 ให้กับ ทะเบียน • IP 150.23.192.0-150.23.192.255 • 150.23. 1100 0001. 0 /24 ให้กับ บุคคล • IP 150.23.193.0-150.23.193.255 • 150.23. 1100 0010. 0 /24 ให้กับ การเงิน • IP 150.23.194.0-150.23.194.255
8 Subnet จาก 150.23.192.0/18 • สมมุติเราใช้ 4 Subnet แรก ที่เหลือเก็บไว้สำหรับการขยายในอนาคต ดังนี้ • 150.23. 1100 1000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 2 • อาคาร2 มีภายในอีก 4 หน่วยงาน เราแบ่ง Subnet ต่อ สมมุติใช้ /24 คือแบ่งเป็น 8 Subnet อีก แต่เราใช้แค่ 4 ที่เหลือสำหรับอนาคต • สังเกตว่า Host ที่มีได้ในแต่ละ Subnet ที่แบ่ง คือ /24 จะเท่ากับ 254 ซึ่งเพียงพอสำหรับแต่ละหน่วยงานย่อย • 150.23. 1100 1000. 0 /24 ให้กับ เคมี • IP 150.23.200.0-150.23.200.255 • 150.23. 1100 1001. 0 /24 ให้กับ คณิตศาสตร์ • IP 150.23.201.0-150.23.201.255 • 150.23. 1100 1010. 0 /24 ให้กับ ฟิสิกค์ • IP 150.23.202.0-150.23.202.255 • 150.23. 1100 1011. 0 /24 ให้กับ ชีววิทยา • IP 150.23.203.0-150.23.203.255
8 Subnet จาก 150.23.192.0/18 • สมมุติเราใช้ 4 Subnet แรก ที่เหลือเก็บไว้สำหรับการขยายในอนาคต ดังนี้ • 150.23. 1101 0000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 3 • อาคาร3 มีภายในอีก 3 หน่วยงาน เราแบ่ง Subnet ต่อ สมมุติใช้ /24 คือแบ่งเป็น 8 Subnet อีก แต่เราใช้แค่ 3 ที่เหลือสำหรับอนาคต • สังเกตว่า Host ที่มีได้ในแต่ละ Subnet ที่แบ่ง คือ /24 จะเท่ากับ 254 ซึ่งเพียงพอสำหรับแต่ละหน่วยงานย่อย • 150.23. 1101 0000. 0 /24 ให้กับ บัญชี • IP 150.23.208.0-150.23.208.255 • 150.23. 1101 0001. 0 /24 ให้กับ สังคมศาสตร์ • IP 150.23.209.0-150.23.209.255 • 150.23. 1101 0010. 0 /24 ให้กับ มนุษยศาสตร์ • IP 150.23.210.0-150.23.210.255
8 Subnet จาก 150.23.192.0/18 • สมมุติเราใช้ 4 Subnet แรก ที่เหลือเก็บไว้สำหรับการขยายในอนาคต ดังนี้ • 150.23. 11011000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 4 • อาคาร4 มีภายในอีก 3 หน่วยงาน เราแบ่ง Subnet ต่อ สมมุติใช้ /24 คือแบ่งเป็น 8 Subnet อีก แต่เราใช้แค่ 3 ที่เหลือสำหรับอนาคต • สังเกตว่า Host ที่มีได้ในแต่ละ Subnet ที่แบ่ง คือ /24 จะเท่ากับ 254 ซึ่งเพียงพอสำหรับแต่ละหน่วยงานย่อย • 150.23. 11011000. 0 /24 ให้กับ วิศวกรรม • IP 150.23.216.0-150.23.216.255 • 150.23. 11011001. 0 /24 ให้กับ ไอที • IP 150.23.217.0-150.23.217.255 • 150.23. 11011010. 0 /24 ให้กับ ศิลปกรรม • IP 150.23.218.0-150.23.218.255
Summary ทะเบียน 150.23.192.0/24 150.23.192.0/21 บุคคล 150.23.193.0/24 อาคาร 1 การเงิน 150.23.194.0/24 เคมี 150.23.200.0/24 คณิตศาสตร์ 150.23.200.0/21 150.23.201.0/24 ฟิสิกค์ 150.23.202.0/24 อาคาร 2 ชีววิทยา 150.23.203.0/24 150.23.192.0/18 บัญชี 150.23.208.0/24 150.23.208.0/21 สังคม 150.23.209.0/24 อาคาร 3 มนุษยศาสตร์ 150.23.210.0/24 วิศวกรรม 150.23.216.0/24 150.23.216.0/21 ไอที 150.23.217.0/24 อาคาร 4 ศิลปกรรม 150.23.218.0/24 แต่ละอุปกรณ์ใน Subnet สามารถกำหนดหมายเลข IP โดยใช้ IP Address ใน Range ที่หาได้ก่อนนี้
Routing 150.23.208.134/24 GW:150.23.208.1 อาคาร 4 บัญชี 150.23.208.1/24 อาคาร 1 อาคาร 3 การเงิน 150.23.194.1/24 อาคาร 2 150.23.194.25/24 GW:150.23.194.1
Introduction to Routing • Routing in Packet Switching Network • Circuit Switching Network จะไม่กล่าวถึง • จะเน้นเฉพาะใน IP Network • เป็นการหาทิศทางในการส่ง Packet ใน Network • VC จะดูจาก VC Number • Datagram ดูจาก Destination Address
Performance Criteria • Used for selection of route • Router จะหาเส้นทางที่ดีที่สุดตาม Criteria ที่กำหนด • Minimum hop • Least cost