1 / 13

แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ

แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ. โดย นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ประเด็นการนำเสนอ. ภาพรวมความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ - นโยบายรัฐบาล - แผนการบริหารราชการแผ่นดิน

azuka
Download Presentation

แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ โดย นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  2. ประเด็นการนำเสนอ • ภาพรวมความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ - นโยบายรัฐบาล - แผนการบริหารราชการแผ่นดิน • การผลักดันยุทธศาสตร์สู่พื้นที่และประเด็นปัญหา • ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางปรับปรุงแก้ไข

  3. ภาพรวมความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ โครงการและงบประมาณลงสู่พื้นที่ • นโยบายรัฐบาล • แผนการบริหารราชการแผ่นดิน • แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • ระดับกระทรวง (Function Approach) • ระดับกลุ่มจังหวัด (Area Approach) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์แผนการบริหารราชการแผ่นดิน และ ประสานกับกระทรวง (Function)

  4. การผลักดันยุทธศาสตร์ลงสู่พื้นที่การผลักดันยุทธศาสตร์ลงสู่พื้นที่

  5. นโยบายรัฐบาล 23 มีนาคม 2548 1. นโยบายขจัดความยากจน2. นโยบายพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ3. นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้4. นโยบายบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม5. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ6. นโยบายพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี7. นโยบายส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม8. นโยบายรักษาความมั่นคงของรัฐ9. นโยบายตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ

  6. แผนการบริหารราชการแผ่นดินแผนการบริหารราชการแผ่นดิน องค์ประกอบของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ส่วนที่ 1 แนวคิดและทิศทางการบริหารประเทศ วิสัยทัศน์ของรัฐบาล กรอบการดำเนินงานเชิงยุทธศาสตร์ของรัฐบาล ส่วนที่ 2 ยุทธศาสตร์การบริหารราชการแผ่นดิน ประกอบด้วยรายละเอียดของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ รวมทั้งสิ้น 9 ยุทธศาสตร์ ส่วนที่ 3 กลไกการนำแผนการบริหารราชการแผ่นดินไปสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วยหน่วยงานเจ้าภาพ งบประมาณสนับสนุนยุทธศาสตร์ และแนวทางการติดตามและประเมินผล

  7. ประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนการบริหาราชการแผ่นดินประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนการบริหาราชการแผ่นดิน

  8. ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี

  9. แผนภูมิความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณสู่จังหวัด นโยบายรัฐบาล แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน Function Area จังหวัด จังหวัด กลุ่มจังหวัด กระทรวง กระทรวง โครงการ โครงการ 70% 30%

  10. การผลักดันยุทธศาสตร์สู่พื้นที่และประเด็นปัญหาการผลักดันยุทธศาสตร์สู่พื้นที่และประเด็นปัญหา 1. การจัดสรรงบกลางให้ผู้ว่า CEO รัฐบาลให้ความสำคัญกับยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่มากขึ้นเป็นลำดับ • ปี 2547 จัดสรรงบกลางให้ผู้ว่า CEO 3,750 ล้านบาท • ปี 2548 จัดสรร 2 ครั้ง - ครั้งที่ 1 จำนวน 5,000 ล้านบาท - ครั้งที่ 2 จำนวน 15,000 ล้านบาท • ปี 2549 จัดสรร 40,000 ล้านบาท

  11. 2. ประเด็นปัญหาการจัดสรรงบกลางให้ผู้ว่า CEO ด้านงบประมาณและโครงการ • จังหวัดไม่ได้รับการจัดสรรเพียงพอ - กระทรวงไม่ได้ให้ความสำคัญกับยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดและจังหวัดเพียงพอ • จังหวัดได้รับงบประมาณล่าช้า • งบประมาณโครงการกลุ่มจังหวัดขาดความชัดเจนในการบริหาร เนื่องจากหลายจังหวัดร่วมรับผิดชอบ และเกินกว่ากรอบวงเงินที่มี • โครงการของกลุ่มจังหวัดจำนวนมากไม่ได้เกิดจากการบูรณาการการดำเนินการร่วมกัน แต่เป็นลักษณะต่างคนต่างทำในเรื่องเดียวกัน ด้านเนื้อหายุทธศาสตร์ • เนื้อหายุทธศาสตร์ให้ความสำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน มากกว่าการพัฒนาคนและสังคม สิ่งแวดล้อม • ยุทธศาสตร์จังหวัดต่างๆ ในกลุ่มเดียวกัน ขาดความเชื่อมโยงในลักษณะเกื้อหนุนกัน

  12. ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางปรับปรุงแก้ไข(สำหรับปีงบประมาณ 2550) • มีการตั้งองค์กรหรือกลไกในการบริหารโครงการของกลุ่มจังหวัดอย่างเป็นระบบชัดเจน (แทนการมอบหมายผู้ว่าอาวุโส หรือจังหวัดใดจังหวัดหนึ่งแต่ผู้เดียว) • ควรมีการปรับปรุงยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด และยุทธศาสตร์จังหวัดภายใต้กลุ่มจังหวัดให้สอดคล้องและเชื่อมโยงกันภายใต้ยุทธศาสตร์แผนการบริหารราชการแผ่นดิน • โครงการของกลุ่มจังหวัดควรเกิดจากการบูรณาการร่วมกันทั้งในกระบวนการของการจัดทำโครงการและการบริหารจัดการเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันของกลุ่มจังหวัด (ควรจัดลำดับความสำคัญ เน้น Flagship Project)

  13. www.nesdb.go.th

More Related