150 likes | 372 Views
การใช้มันสำปะหลังเป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารสุกร. โดย นางสาววันเพ็ญ โพลา. ความสำคัญของมันสำปะหลัง. เป็นพืชเศรษฐกิจ มีการเพราะปลูกได้เกือบทุกภาค ทนต่อความแห้งแร้งได้ดี ต้นทุนการผลิตต่ำ สามารถใช้เป็นอาหารสัตว์ได้. ตาราง : แสดงส่วนประกอบหลักในหัวมันสำปะหลัง.
E N D
การใช้มันสำปะหลังเป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารสุกรการใช้มันสำปะหลังเป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารสุกร โดย นางสาววันเพ็ญ โพลา
ความสำคัญของมันสำปะหลังความสำคัญของมันสำปะหลัง • เป็นพืชเศรษฐกิจ • มีการเพราะปลูกได้เกือบทุกภาค • ทนต่อความแห้งแร้งได้ดี • ต้นทุนการผลิตต่ำ • สามารถใช้เป็นอาหารสัตว์ได้
ตาราง : แสดงส่วนประกอบหลักในหัวมันสำปะหลัง ที่มา : กล้าณรงค์ และคณะ (2542)
การใช้มันสำปะหลังเป็นอาหารสัตว์การใช้มันสำปะหลังเป็นอาหารสัตว์ • ข้อดีของการใช้มันสำปะหลังเป็นอาหารสัตว์ • ข้อเสียของการใช้มันสำปะหลังเป็นอาหารสัตว์
รูปแบบการใช้มันสำปะหลังเป็นอาหารสัตว์รูปแบบการใช้มันสำปะหลังเป็นอาหารสัตว์ • ทำเป็นมันเส้น • ทำเป็นมันหมัก
การใช้มันสำปะหลังในสูตรอาหารสุกรการใช้มันสำปะหลังในสูตรอาหารสุกร • สามารถใช้เลี้ยงสัตว์ได้ทุกชนิด • ต้องมีการปรับความสมดุลของโภชนะเพียงพอต่อความต้องการของสัตว์
ตาราง : คุณค่าทางโภชนาการของมันเส้นเปรียบเทียบกับข้าวโพด ปลายข้าว และมันเส้น ที่ปรับโปรตีนโดยกากถั่วเหลืองหรือปลาป่น หมายเหตุ (1) มันเส้นที่ปรับโปรตีนโดยใช้สัดส่วนของมันเส้น : กากถั่วเหลือง (44%) = 87 : 13 (2) มันเส้นที่ปรับโปรตีนโดยใช้สัดส่วนของมันเส้น : ปลาป่น (60%) = 89 : 11 ที่มา : อุทัย และคณะ (2540)
ตาราง: แสดงระดับการใช้มันเส้นในสุกร
การใช้มันสำปะหลังทดแทนปลายข้าวในสูตรอาหารสุกรการใช้มันสำปะหลังทดแทนปลายข้าวในสูตรอาหารสุกร • ข้อจำกัดในการใช้ปลายข้าว • ข้อแนะนำในการใช้ปลายข้าว
ตาราง : แสดงผลการใช้มันเส้นทดแทนปลาย ข้าวในสูตรอาหารลูกสุกร หลังหย่านม ที่มา : ดัดแปลงจาก อุทัยและสุกัญญา (2547)
การใช้มันสำปะหลังทดแทนข้าวโพดในสูตรอาหารสุกรการใช้มันสำปะหลังทดแทนข้าวโพดในสูตรอาหารสุกร • ข้อจำกัดในการใช้ข้าวโพด • ข้อแนะนำในการใช้ข้าวโพด
ตาราง : แสดงผลการใช้มันเส้นทดแทนข้าวโพดในสูตรอาหารสุกรระยะรุ่น-ขุน (30-100 กก.) ที่มา : ดัดแปลงจาก อุทัยและสุกัญญา (2547)
สรุปและข้อเสนอแนะ การใช้มันสำปะหลังในสูตรอาหารสุกรสามารถใช้มันสำปะหลังได้ในรูปแบบมันเส้นที่สามารถใช้ได้ในอาหารสุกร ดังนี้ สุกรหย่านม ช่วงน้ำหนัก 5 – 15 กก. ใช้ได้ 20% ในสูตรอาหาร สุกรเล็ก ช่วงน้ำหนัก 15 – 35 กก. ใช้ได้ 50% ในสูตรอาหาร สุกรรุ่น ช่วงน้ำหนัก 35 – 60 กก. ใช้ได้ 60% ในสูตรอาหาร สุกรขุน ช่วงน้ำหนัก 60 – 120 กก. ใช้ได้ 70% ในสูตรอาหาร สุกรอุ้มท้องใช้ได้ 50% ในสูตรอาหาร จากการใช้ในรูปแบบดังกล่าวและรูปแบบการทดแทนวัตถุดิบจากแหล่งพลังงานพบว่าไม่มีผลต่อสมรรถนะการผลิตจากการเลี้ยงด้วยข้าวโพดและปลายข้าว โดยการนำมันเส้นมาประกอบสูตรอาหารสัตว์กระเพาะเดี่ยวสามารถย่อยได้ง่ายกว่าข้าวโพด ไม่มีการปนเปื้อนของสารพิษจากเชื้อราโดยเฉพาะอะฟลาทอกซิน สามารถลดสารพิษได้ง่าย เช่นการตากแดด การหมัก การสับ และมีราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับข้าวโพด แต่ในมันเส้นมีโปรตีนต่ำต้องมีการเสริมระดับโภชนะโดยอาจเพิ่มปริมาณวัตถุดิบอาหารโปรตีนสูง เช่น กากถั่วเหลือง หรือปลาป่น หรือกรดอะมิโนสังเคราะห์
จบการนำเสนอ ขอบคุณ