330 likes | 509 Views
วิธี การจัดทำร่างมาตรฐาน โดยการยกร่างและ โดยการรับมาตรฐานระหว่างประเทศมาใช้. โดย นางนาตยา สีทับทิม กรรมการและเลขานุการ คณะที่ 525 พิจารณาร่างมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กลุ่มที่ 2 สำนักบริหารมาตรฐาน 2. วิธีการจัดทำร่างมาตรฐาน โดยการยกร่าง (TISI(4B)-W-DR-01).
E N D
วิธีการจัดทำร่างมาตรฐานวิธีการจัดทำร่างมาตรฐาน โดยการยกร่างและ โดยการรับมาตรฐานระหว่างประเทศมาใช้ โดย นางนาตยา สีทับทิม กรรมการและเลขานุการคณะที่ 525 พิจารณาร่างมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กลุ่มที่ 2 สำนักบริหารมาตรฐาน 2
วิธีการจัดทำร่างมาตรฐานวิธีการจัดทำร่างมาตรฐาน โดยการยกร่าง (TISI(4B)-W-DR-01) สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เอกสารที่เกี่ยวข้อง • รูปแบบและข้อแนะนำในการจัดทำร่างมาตรฐานโดยการยกร่าง • แบบหนังสือขอข้อคิดเห็นร่างมาตรฐาน • แบบเสนอข้อคิดเห็น • แบบสรุปผลการพิจารณาร่างมาตรฐาน • แบบใบนำส่งร่างมาตรฐานเพื่อการพิจารณากลั่นกรอง • แบบสรุปมติ กว. เสนอ กว.425/525/925/รายสาขา สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอน ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ • จัดทำร่างมาตรฐาน • เวียนร่างมาตรฐาน • ประชุม กว. พิจารณาข้อคิดเห็น • พิจารณากลั่นกรองร่างมาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอน(ต่อ) • จัดทำต้นฉบับร่างมาตรฐาน • จัดทำสรุปเสนอ กมอ. • เสนอ กมอ. พิจารณาให้ความเห็นชอบ • ประกาศมาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอน การจัดทำร่างมาตรฐาน • ศึกษาข้อมูลจากมาตรฐานระหว่างประเทศ/ภูมิภาค/ต่างประเทศ ข้อมูลจากผู้ทำ ผู้ใช้ ผลทดสอบที่มีอยู่ รายงานวิจัย มอก. ที่เกี่ยวข้อง หรืออื่น ๆ • จัดทำร่างมาตรฐาน หรือจัดทำเป็นโครงร่างมาตรฐานเสนอ กว. พิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนจัดทำเป็นร่างมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบ ตาม TISI(4B)-R-DR-01 • อาจจัดประชุม กว. พิจารณาร่างมาตรฐานก่อนเวียนร่างมาตรฐานหรือไม่ก็ได้ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอน เวียนร่างมาตรฐาน • จัดทำหนังสือขอข้อคิดเห็นร่างมาตรฐาน • เวียนร่างมาตรฐานไปยัง กว. ต้นสังกัด กว . ผู้ใช้ ผู้ทำ นักวิชาการและหน่วยงานภายใน สมอ. ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้เวลาเวียนไม่น้อยกว่า 60 วัน กรณีที่เป็นเรื่องเร่งด่วนมาก อาจเวียนน้อยกว่า 60 วันได้ • รวบรวมข้อคิดเห็นที่ได้รับ โดยนำเฉพาะประเด็นปัญหาทางวิชาการมาจัดทำสรุปผลการเวียนร่างมาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอน ประชุม กว. พิจารณาข้อคิดเห็น • ประชุม กว. ตาม TISI(4B)-W-CM-01 พิจารณาสรุปผลการเวียนร่างมาตรฐาน • ยกร่างใหม่ตามมติ กว. แล้วเสนอ กว. พิจารณาทบทวน • จัดทำสรุปผลการพิจารณาร่างมาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอน พิจารณากลั่นกรองร่างมาตรฐาน • เสนอร่างมาตรฐานเพื่อการพิจารณากลั่นกรอง พร้อมแนบสรุปผลการพิจารณาร่างมาตรฐาน และเอกสารอ้างอิงอย่างละ 1 ชุด เสนอ ผก./ผอ.สบ. พิจารณาเสนอ กว.425/525/925/รายสาขา • เข้าชี้แจงในการประชุม กว.425/525/925/รายสาขา • กรณีที่ กว.425/525/925/ รายสาขา มีข้อคิดเห็น ให้นำเสนอ กว. พิจารณาทบทวน • จัดทำสรุปมติ กว. เสนอ กว.425/525/925 พิจารณาจนได้ข้อยุติและมีมติให้นำร่างมาตรฐานดังกล่าวเสนอ กมอ. ต่อไปได้ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอนจัดทำต้นฉบับร่างมาตรฐาน • จัดทำต้นฉบับร่างมาตรฐานตามมติ กว.425/525/925/รายสาขา • ตรวจสอบความถูกต้องทางด้านวิชาการและด้านภาษา และจัดทำ 5 หน้าแรกโดยใช้รูปแบบ ตาม TISI(4B)-R-DR-01 สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอน จัดทำสรุปเสนอ กมอ. • จัดทำสรุปผลการพิจารณาร่างมาตรฐานเสนอ กมอ. • แนบต้นฉบับร่างมาตรฐานและรายงานการประชุม กว.425/525/925/รายสาขา • เสนอ ผก. ตรวจสอบความถูกต้องแล้วเสนอ ผอ.สบ. พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนส่งให้ ฝบ. ดำเนินการเข้า กมอ.ต่อไป สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอน จัดทำสรุปเสนอ กมอ.(ต่อ) • ฝบ. ขอหมายเลข มอก. จากนายทะเบียน(อยู่สบ.1) แล้วเติมลงในต้นฉบับร่างมาตรฐานเป็น Page Maker • ประสานงานกับฝ่ายเลขานุการ กมอ. เพื่อขอครั้งที่ของการประชุม กมอ. วัน/เดือน/ปี และหมายเลขเอกสารแล้วจัดทำสำเนาสรุปผลการพิจารณาร่างมาตรฐาน จำนวน 35 ชุดให้ฝ่ายเลขานุการ กมอ. เพื่อเสนอ กมอ. พิจารณา สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอน เสนอ กมอ. พิจารณาให้ความเห็นชอบ • กรณี กมอ. เห็นชอบ • ฝบ. ดำเนินการ ประกาศมาตรฐาน • กรณี กมอ. ไม่เห็นชอบ • ส่งกลับเลขานุการ กว. ดำเนินการตาม มติ กมอ. โดยเสนอ กว. พิจารณา เมื่อได้ข้อยุติแล้ว ให้จัดทำสรุปเสนอ กมอ. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ศึกษาข้อมูล จัดทำร่างมาตรฐานตามรูปแบบ R-DR-01 สรุปวิธีการจัดทำร่างมาตรฐานโดยการยกร่าง ประชุม กว. พิจารณาร่างแรก/ยกร่างใหม่ตามมติ กว. เวียนร่างมาตรฐาน/ตรวจสอบรายชื่อหน่วยงานที่จะเวียน รวบรวมข้อคิดเห็นเฉพาะประเด็นปัญหาทางวิชาการ
ประชุม กว. พิจารณาข้อคิดเห็น/ยกร่างใหม่ตามมติ กว. จัดทำสรุป กมอ. เป็น page maker/ขอหมายเลข มอก. จาก สบ.1/ มอก. ทั่วไปเพื่อทราบ, มอก. บังคับเพื่อพิจารณา ประกาศมาตรฐาน เสนอ กว. พิจารณากลั่นกรองร่าง/หากมีปัญหาเสนอ กว. จัดทำต้นฉบับร่างมาตรฐานตามมติ กว. กลั่นกรอง จัดทำ 5 หน้าแรก
ร่างมาตรฐานที่ผ่าน กมอ. (Page Maker) เสนอ รวอ. ลงนามประกาศ อก. - เสนอประกาศ อก. + เนื้อหา PDF จัดทำแบบแนบท้ายประกาศ อก. (PDF) จัดทำประกาศ อก. (Word)
ส่งประกาศ อก. ให้ สบย. ทำแผ่นCD สบย. รวมPDFเนื้อหา+PDF 5หน้าแรก ส่ง สสพ. นำส่งแผ่นCD+สำเนาประกาศ อก. + เนื้อหาPDF ประกาศในราชกิจจานุเบกษา จัดทำ 5 หน้าแรก – ทำเป็นPDF เติมข้อมูล
วิธีการจัดทำร่างมาตรฐานวิธีการจัดทำร่างมาตรฐาน โดยการรับมาตรฐานระหว่างประเทศ (TISI(4B)-W-AD-01) สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
วิธีการรับมาตรฐานระหว่างประเทศมาใช้เป็น มอก. • วิธีพิมพ์ซ้ำ • วิธีแปล • วิธีร่างใหม่
มาตรฐานระหว่างประเทศ มาตรฐานที่ประกาศใช้โดยองค์การมาตรฐานระหว่างประเทศและเผยแพร่ต่อสาธารณะ • ISO (International Organization for Standardization) • IEC (International Electrotechnical Commission) • Codex (Codex Alimentarius Commission) สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เอกสารที่เกี่ยวข้อง • รูปแบบและข้อแนะนำในการจัดทำร่างมาตรฐาน • โดยการรับมาตรฐานระหว่างประเทศ TISI(4B)-R-AD-01 • แบบหนังสือขอข้อคิดเห็นร่างมาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอน ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ • จัดทำร่างมาตรฐาน • เวียนร่างมาตรฐาน(ถ้ามี) • ประชุม กว. พิจารณาข้อคิดเห็น(ถ้ามี) • พิจารณากลั่นกรองร่างมาตรฐาน (ถ้ามี) สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอน(ต่อ) • จัดทำต้นฉบับร่างมาตรฐาน • จัดทำสรุปเสนอ กมอ. • เสนอ กมอ. พิจารณาให้ความเห็นชอบ • ประกาศมาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอนการจัดทำร่างมาตรฐานขั้นตอนการจัดทำร่างมาตรฐาน • ศึกษามาตรฐานระหว่างประเทศฉบับล่าสุดที่ได้รับความเห็นชอบจาก กมอ. แล้ว • กรณีใช้วิธีพิมพ์ซ้ำ ให้จัดทำสรุปสาระสำคัญของมาตรฐานระหว่างประเทศเป็นภาษาไทย ตามรูปแบบ TISI(4B)-R-AD-01 • กรณีใช้วิธีแปลและวิธีร่างใหม่ แปลเป็นภาษาไทยโดยแปลเองหรือจ้างแปล ให้ดำเนินตามรูปแบบ TISI(4B)-R-AD-01 หากจ้างแปลให้ดำเนินการตามระเบียบฯ พัสดุ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอนการจัดทำร่างมาตรฐาน(ต่อ)ขั้นตอนการจัดทำร่างมาตรฐาน(ต่อ) • จัดทำร่างมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบ ตาม TISI(4B)-R-AD-01 • กรณีใช้วิธีพิมพ์ซ้ำ อาจเวียนขอข้อคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ถ้ามีข้อคิดเห็นทางวิชาการให้เสนอ กว. ที่เกี่ยวข้องหรือแต่งตั้ง กว. ใหม่เพื่อพิจารณาข้อคิดเห็นและส่งข้อคิดเห็นนั้นไปเสนอในการประชุม ISO/IEC เพื่อขอแก้ไขมาตรฐานระหว่างประเทศต่อไป ทั้งนี้อาจพิจารณาความสมควรในการเปลี่ยนวิธีพิมพ์ซ้ำเป็นวิธีแปลหรือวิธีร่างใหม่หรือโดยการยกร่างก็ได้ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอน การจัดทำร่างมาตรฐาน(ต่อ) • กรณีใช้วิธีแปลและวิธีร่างใหม่ ให้เสนอ กว./Panel พิจารณา • ขั้นตอนอื่นๆ ดำเนินการเช่นเดียวกับวิธีการจัดทำร่างมาตรฐานโดยการยกร่าง • กรณีเรื่องที่เป็นนโยบายหรือเรื่องเร่งด่วนอาจไม่ต้องนำร่างมาตรฐานเสนอ กว.425/525/925/รายสาขา ก็ได้ แต่ให้นำเสนอ กมอ. พิจารณาให้ความเห็นชอบ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอนจัดทำต้นฉบับร่างมาตรฐาน • จัดทำต้นฉบับร่างมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบ ตาม TISI(4B)-R-AD-01 • กรณีใช้วิธีพิมพ์ซ้ำ ต้นฉบับร่างมาตรฐานประกอบด้วยสรุปสาระสำคัญภาษาไทย แนบท้ายด้วยสำเนาเนื้อหามาตรฐานระหว่างประเทศ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ขั้นตอน จัดทำสรุปเสนอ กมอ. • จัดทำสรุปผลการพิจารณาร่างมาตรฐาน พร้อมแนบต้นฉบับร่างมาตรฐานและสรุปผลการเวียนร่างมาตรฐาน (ถ้ามี) เสนอ ผก. ตรวจสอบความถูกต้องแล้วเสนอ ผอ.สบ. พิจารณา ให้ความเห็นชอบ ก่อนส่งให้ ฝบ. ดำเนินการต่อไป สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
จัดทำร่างมาตรฐาน(สรุปสาระสำคัญเป็นภาษาไทย)จัดทำร่างมาตรฐาน(สรุปสาระสำคัญเป็นภาษาไทย) สรุปวิธีการจัดทำร่างมาตรฐานโดยการAdoptionแบบวิธีพิมพ์ซ้ำ เวียนร่างมาตรฐาน ประชุม กว. พิจารณาข้อคิดเห็น
จัดทำตนฉบับร่างมาตรฐาน(จัดทำ 5หน้าแรก) เสนอ กมอ.เพื่อทราบ ประกาศมาตรฐาน
สรุปวิธีการจัดทำร่างมาตรฐานโดยการAdoptionโดยวิธีแปลและวิธีร่างใหม่สรุปวิธีการจัดทำร่างมาตรฐานโดยการAdoptionโดยวิธีแปลและวิธีร่างใหม่ จัดทำร่างมาตรฐาน วิธีแปล-ถอดความภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย วิธีร่างใหม่-เรียบเรียงส่วนที่เป็นเนื้อหาเป็นภาษาไทย เวียนร่างมาตรฐาน ประชุม กว. พิจารณาข้อคิดเห็น
เสนอกว.กลั่นกรอง ประกาศมาตรฐาน จัดทำต้นฉบับร่างมาตรฐาน เสนอกมอ.เพื่อทราบ/พิจารณา
หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามได้ที่ นาตยา สีทับทิม สบ.2 กลุ่ม 2 โทร 02 202 3470 หรือ 0816165791 natayas@tisi.go.th