1 / 23

กระบวนการทำวิจัย

กระบวนการทำวิจัย. สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร บทความวิจัย รายงานวิจัย หน้าข่าว …. ข้อเสนอโครงร่าง , ข้อเสนอ โครงการวิจัย. การกำหนดหัวข้อ. เครื่องมือสำคัญ ฐานข้อมูลวิชาการ และ search engine. การวิเคราะห์. การกำหนด / เลือกประเด็นปัญหาและการกำหนดกรอบแนวคิดงานวิจัย.

bao
Download Presentation

กระบวนการทำวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการทำวิจัย สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร บทความวิจัย รายงานวิจัย หน้าข่าว … ข้อเสนอโครงร่าง, ข้อเสนอ โครงการวิจัย

  2. การกำหนดหัวข้อ เครื่องมือสำคัญ ฐานข้อมูลวิชาการ และ search engine

  3. การวิเคราะห์

  4. การกำหนด/เลือกประเด็นปัญหาและการกำหนดกรอบแนวคิดงานวิจัยการกำหนด/เลือกประเด็นปัญหาและการกำหนดกรอบแนวคิดงานวิจัย • ตั้งคำถามง่ายๆในปัญหาที่สนใจให้ กระชับ รัดกุม โดยเริ่มด้วยคำถามเช่น หรือไม่ ทำไม อย่างไร อะไร • การตั้งคำถามจะกำหนดกรอบแนวคิดและบ่งชี้ถึงถึงมิติของปัญหา • การค้นหาคำตอบของคำถามนั้นคือประเด็นงานวิจัยของเราที่ต้องแสวงหาคำตอบ • เลือกประเด็นปัญหาให้เหมาะสมโดยวิเคราะห์ (SWOT) • ประเด็นที่เลือกเป็นที่สนใจ (hot topic, emerging technology, cutting-edge technology) มีความทันสมัย และมีประโยชน์

  5. การกำหนดวิธีการวิจัย • การกำหนดแนวคิด • การทดสอบแนวคิด • การออกแบบเชิงระบบ • การทดสอบเชิงระบบ • การออกแบบระบบย่อย • การทดสอบระบบย่อย • การบูรณาการระบบ • การทดสอบระบบ

  6. กรณีศึกษา (1) • กำหนดหัวข้อ • ปัญหาเรียนอ่อนของนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ ป ตรี • วิเคราะห์ เราเหมาะสมกับปัญหานี้หรือไม่อย่างไร • จุดแข็ง มีความรู้ประสบการณ์กับงาน, เป็นปัญหาในภารกิจหน้าที่ • จุดอ่อน มีประสบการณ์การทำงานวิจัยทางสังคมศาสตร์น้อย • โอกาส คณะ/มหาวิทยาลัยมีกลไกสนับสนุน, มีเจ้าหน้าที่หน่วยงานสนับสนุน • อุปสรรค มีผู้เผยแพร่งานวิจัยนี้มาก่อน, มีข้อมูลสนับสนุนน้อย

  7. กรณีศึกษา (2) • ทบทวน • กำหนด keywords สำคัญ เรียนอ่อน, ปริญญาตรี, วิศวกรรมศาสตร์, คะแนนสะสม • ผลการค้นหา keywords ด้วย search engine

  8. กรณีศึกษา (3) การกำหนดประเด็นปัญหา สาเหตุที่น่าจะเป็นต้นตอ • คุณภาพนักศึกษาเข้าคณะไม่ดี • กระบวนการเรียนการสอนมีปัญหา ตีกรอบปัญหาให้แคบลง โดยอาจกำหนดประเด็น “นักศึกษาเรียนอ่อนเพราะมีปัญหาในวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในปีการศึกษาแรก ”

  9. กรณีศึกษา (4) กำหนดกรอบแนวคิดงานวิจัย เรียนอ่อนหมายถึงนักศึกษาที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมน้อยกว่า 2.00 นักศึกษาหมายถึงนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์เฉพาะปี 1 รายวิชาพื้นฐานทางวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ปี 1 ได้แก่ วิชา คณิตศาสตร์กายภาพ 1,2 ฟิสิกส์ 1 2 และปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 และ 2 เคมีพื้นฐาน และ ปฏิบัติการเคมีพื้นฐาน 1 การทดลองควรต้องควบคุมคุณภาพนักศึกษาที่วิเคราะห์ จำนวนนักศึกษาและจำนวนปีในการทดลองต้องมีจำนวนมากพอและน่าเชื่อถือทางสถิติ

  10. กรณีศึกษา (5) ประเด็นปัญหาที่ตีกรอบ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ปี 1 ที่คะแนนสะสมเฉลี่ยต่ำกว่า 2.00 เนื่องจากคะแนนเฉลี่ยรายวิชา คณิตศาสตร์(1,2) ฟิสิกส์และปฏิบัติการฟิสิกส์ (1,2) และ วิชาเคมีและปฏิบัติการเคมี ต่ำกว่า 2.00 ผลลัพธ์ของงาน ปัญหาการเรียนอ่อนมาจากปัญหาวิชาพื้นฐานมากน้อยเพียงใด ผลผลิตของงาน ข้อมูลเพื่อดำเนินการทางนโยบาย

  11. การกำหนดวิธีการวิจัย (1) ??????

  12. การกำหนดวิธีการวิจัย (2) กระบวนการงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์แตกต่างจากงานวิจัย ทางสังคมศาสตร์ งานวิจัยสายสังคมศาสตร์ส่วนใหญ่จะเป็นงานวิจัยเฉพาะพื้นที่ ตอบโจทย์เฉพาะเรื่อง กรอบงานแคบ การสำรวจ โดยใช้สถิติเป็นเครื่องมือ

  13. การกำหนดวิธีการวิจัย (3) สำหรับงานวิจัยวิทยาศาสตร์ จากประเด็นปัญหา… จะกำหนดวิธีการอย่างไร แนวทางสองสายเท่านั้นสำหรับงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่เชื่อถือได้ คณิตศาสตร์ การทดลอง

  14. การกำหนดวิธีการวิจัย (4) วิธีการทางคณิตศาสตร์ ทรงพลัง สง่างาม และน่าเกรงขาม นักวิจัยสายวิศวกรรมศาสตร์(และสายอื่น)จะโน้มเอียงและชื่นชอบ สามารถอธิบายได้ทุกสถานการณ์ภายใต้กรอบแนวคิด อาศัยความเชี่ยวชาญและความเข้าใจที่ลึกซึ้ง กินเวลา

  15. การกำหนดวิธีการวิจัย (5) ตัวอย่างงานวิจัยที่ยิ่งใหญ่ที่ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ Nobel Prize in Physics 1921 http://www.jodrellbank.manchester.ac.uk/news/2006/einstein/ General Relativity Theory by Albert Einstein

  16. การกำหนดวิธีการวิจัย (6) ตัวอย่างงานวิจัยที่ยิ่งใหญ่ที่ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ Nobel Prize in Physics 1932 Uncertainty Principle by Werner Karl Heisenberg http://www.aip.org/history/heisenberg/p08a1.htm

  17. การกำหนดวิธีการวิจัย (7) ตัวอย่างงานวิจัยที่ยิ่งใหญ่ที่ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ Nobel Prize in Physics 1933 http://swiki.hfbk-hamburg.de:8888/MusicTechnology/804 Basic Equations for Quantum Mechanics by Paul Dirac

  18. การกำหนดวิธีการวิจัย (8) วิธีการทางทดลอง น่าเชื่อถือยิ่งหากออกแบบการทดลองอย่างมีหลักการ ทำได้ทันทีหากเห็นแนวทาง นักวิจัยสายวิทยาศาสตร์จะโน้มเอียงและชื่นชอบ อธิบายได้บางสถานการณ์ ค่อนข้างง่ายหากเป็นการจำลองการทำงานบนคอมพิวเตอร์ เปลืองทรัพยากร

  19. การกำหนดวิธีการวิจัย (9) ตัวอย่างงานวิจัยที่ยิ่งใหญ่ที่ใช้วิธีการทางทดลอง Nobel Prize in Chemistry 1908 Nucleus Discovery by Ernest Ruttherford

  20. การกำหนดวิธีการวิจัย (10) ตัวอย่างงานวิจัยที่ยิ่งใหญ่ที่ใช้วิธีการทางทดลอง Nobel Prize in Physics 1923 http://nobelprize.org http://millikan.nbaoh.com/1.htm Measurement of Planck’s constant By Robert A. Millikan

  21. การกำหนดวิธีการวิจัย (11) ทางไหนสำหรับเรา “Two roads diverged in a wood, and I took the one less traveled by, And that has made all the difference.”The Road Not Taken By Robert Frost, Mountain Interval,1920

  22. การกำหนดวิธีการวิจัย (12) ต้องรู้และวาง เป้าหมาย

  23. การกำหนดวิธีการวิจัย (13)

More Related