310 likes | 493 Views
Microsoft Visual Basic 6.0. T.Warangkana Komolpalin. ฟอร์ม ( Form). พร็อพเพอร์ตี้ ที่สำคัญของฟอร์ม. Name ใช้สำหรับกำหนดชื่อ BackColorใช้สำหรับกำหนดสีพื้น BorderStyle ใช้สำหรับกำหนดรูปแบบของเส้นขอบ Caption ใช้สำหรับกำหนดข้อความบน Title Bar ของ Form
E N D
Microsoft Visual Basic 6.0 T.Warangkana Komolpalin
พร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญของฟอร์มพร็อพเพอร์ตี้ที่สำคัญของฟอร์ม • Name ใช้สำหรับกำหนดชื่อ • BackColorใช้สำหรับกำหนดสีพื้น • BorderStyle ใช้สำหรับกำหนดรูปแบบของเส้นขอบ • Caption ใช้สำหรับกำหนดข้อความบน Title Bar ของ Form • ControlBoxใช้สำหรับกำหนดให้มีปุ่มควบคุมของ Form • Enabled ใช้สำหรับกำหนดให้ Form สามารถใช้งานได้หรือไม่ • Font ใช้สำหรับกำหนดตัวอักษรของข้อความอุปกรณ์ต่าง ๆ ใน Form • ForeColor ใช้สำหรับกำหนดสีตัวอักษรของข้อความอุปกรณ์ต่าง ๆ ใน Form • MaxButtonใช้สำหรับกำหนดให้มีปุ่มขยายขนาดของ Form • MinButton ใช้สำหรับกำหนดให้มีปุ่มย่อขนาดของ Form • Moveable ใช้สำหรับกำหนดให้ Form สามารถย้ายตำแหน่งได้หรือไม่ • Picture ใช้สำหรับกำหนดรูปบน Form • ShowInTaskbar ใช้สำหรับกำหนดให้มีไอคอนแสดงบน Taskbar • StartUpPositionใช้สำหรับกำหนดตำแหน่งการแสดง Form บนจอภาพ • Visible ใช้สำหรับกำหนดให้ซ่อนหรือแสดง Form • WindowState ใช้สำหรับกำหนดขนาดของ Form เมื่อมีการทำงาน
เมธอดที่สำคัญของ Form • Hideเป็นการทำงานที่สั่งให้ซ่อน Form • Lineเป็นการทำงานที่สั่งให้วาดเส้นลงบน Form • Move เป็นการทำงานที่สั่งให้ Form ย้ายตำแหน่งไปยังตำแหน่งที่กำหนด • Print เป็นการทำงานที่สั่งให้พิมพ์ Form ออกทางเครื่องพิมพ์ • Show เป็นการทำงานที่สั่งให้แสดง Form • Unload เป็นการทำงานที่สั่งให้ยกเลิกการใช้งานของ Form
อีเวนต์ที่สำคัญของ Form • Activate จะเกิดขึ้นเมื่อเลือกใช้งาน Form กรณีที่มีการเปิด Form หลาย ๆ Form พร้อมกัน • Initializeจะเกิดขึ้นเมื่อ Form ถูกโหลดเข้าไปในหน่วยความจำ • Load จะเกิดขึ้นเมื่อ Form แสดงผลหลังจากที่ถูกโหลดเข้าไปในหน่วยความจำ • QueryUnload จะเกิดขึ้นเมื่อมีการปิด Form • Terminate จะเกิดขึ้นเมื่อ Form ถูกลบออกจากหน่วยความจำ • Unload จะเกิดขึ้นเมื่อ Form ถูกยกเลิกการใช้งาน
Label : แถบอักษร แถบอักษร หรือ แถบข้อความ ใช้เพื่อแสดงข้อความ เมื่อแสดงผลจะไม่สามารถพิมพ์แก้ไขข้อมูลได้ นอกจากจะเขียนชุดคำสั่งกำหนดให้มีการเปลี่ยนแปลง
พร็อบเพอร์ตี้ที่สำคัญของ Label • Name ใช้สำหรับกำหนดชื่อ • Alignment ใช้สำหรับกำหนดตำแหน่งของข้อมูลบน • AutoSize ใช้สำหรับกำหนดขนาดของ • Label ให้มีขนาดพอดีกับข้อมูลอัตโนมัติ • BackColor ใช้สำหรับกำหนดสีพื้น • BackStyleใช้สำหรับกำหนดแบบของพื้นหลังให้เป็นแบบทึบหรือโปร่งใส • BorderStyle ใช้สำหรับกำหนดรูปแบบของเส้นขอบ • Caption ใช้สำหรับกำหนดข้อความ • DataField ใช้สำหรับกำหนด Field ที่ต้องการเชื่อมต่อ • DataFormat ใช้สำหรับกำหนดรูปแบบของการแสดงผลข้อมูลใน Label • DataSource ใช้สำหรับกำหนดแหล่งข้อมูลหรือตารางที่ต้องการเชื่อมต่อ • Enabledใช้สำหรับกำหนดให้สามารถใช้งานได้ • Font ใช้สำหรับกำหนดรูปแบบตัวอักษร • ForeColorใช้สำหรับกำหนดสีตัวอักษร • ToolTipTextใช้สำหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม • Visibleใช้สำหรับกำหนดให้ซ่อนหรือแสดง Label
อีเวนต์ที่สำคัญของ Label • Click เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการ Click Mouse ที่ Label
TextBox : กรอบข้อความ กรอบข้อความใช้สำหรับรับข้อมูล ขณะที่ทำการประมวลผล
พร็อบเพอร์ตี้ที่สำคัญของ TextBox • Nameใช้สำหรับกำหนดชื่อ • Alignment ใช้สำหรับกำหนดตำแหน่งของข้อมูล • BackColor ใช้สำหรับกำหนดสีพื้น • BorderStyleใช้สำหรับกำหนดรูปแบบของเส้นขอบ • Captionใช้สำหรับกำหนดข้อความ • DataFieldใช้สำหรับกำหนด Field ที่ต้องการเชื่อมต่อ • DataFormat ใช้สำหรับกำหนดรูปแบบของการแสดงผลข้อมูลใน TextBox • Font ใช้สำหรับกำหนดรูปแบบตัวอักษร • DataSource ใช้สำหรับกำหนดแหล่งข้อมูลหรือตารางที่ต้องการเชื่อมต่อ • ForeColor้ ใช้สำหรับกำหนดสีตัวอักษร • Enabled ใช้สำหรับกำหนดให้สามารถใช้งานได้ • Indexใช้สำหรับกำหนดลำดับสมาชิกของ TextBox กรณีที่กำหนดให้เป็น Array • Locked ใช้สำหรับกำหนด TextBox สามารถพิมพ์ข้อมูลได้หรือไม่ • MaxLength ใช้สำหรับกำหนดความยาวของข้อมูลตัวอักษรที่สามารถพิมพ์ได้ • MultiLine ใช้สำหรับกำหนดให้ TextBox สามารถพิมพ์ได้หลายบรรทัด • PasswordCharใช้สำหรับกำหนดตัวอักษรที่ต้องการให้แสดงขณะที่พิมพ์ • ScrollBars ใช้สำหรับกำหนดให้มี Scroll bars ใน TextBox • TabIndex ใช้สำหรับกำหนดลำดับของ Control ที่ใช้ใน Form • Text ใช้สำหรับกำหนดข้อความใน TextBox • ToolTipTextใช้สำหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม • Visible ใช้สำหรับกำหนดให้ซ่อนหรือแสดง TextBox
เมธอดที่สำคัญของ TextBox • SetFocusเป็นการกำหนดให้รอรับข้อมูลที่ TextBox อีเวนต์ที่สำคัญของ TextBox • Changeเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อข้อมูลของ TextBox มีการเปลี่ยนแปลง • GotFocusเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ TextBox เริ่มถูกใช้งาน • KeyPressเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการกดปุ่มใด ๆ บนคีย์บอร์ด • LostFocusเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ TextBox ถูกเลิกใช้งาน
CommandButton : ปุ่มกด ใช้สำหรับรอรับการกดปุ่ม <Enter> หรือ คลิกเมาส์ เพื่อให้เกิดการทำงาน บางครั้งเราจะเรียกสั้น ๆ ว่า Button
พร็อบเพอร์ตี้ที่สำคัญของ CommandButton • Nameใช้สำหรับกำหนดชื่อ • BackColor ใช้สำหรับกำหนดสีพื้น • Caption ใช้สำหรับกำหนดข้อความ • Font ใช้สำหรับกำหนดรูปแบบตัวอักษร • Picture ใช้สำหรับกำหนดรูปภาพบน CommandButton • Style ใช้สำหรับกำหนดรูปแบบของปุ่มให้สามารถใช้งาน Graphic ได้หรือไม่ • TabIndexใช้สำหรับกำหนดลำดับของ Control ที่ใช้ใน Form • ToolTipText ใช้สำหรับแสดงข้อความอธิบายเพิ่มเติม • Visibleใช้สำหรับกำหนดให้ซ่อนหรือแสดง CommandButton
เมธอดที่สำคัญของ CommandButton • SetFocus เป็นการกำหนดให้รอรับการ Click หรือ กดปุ่ม <Enter> ที่ CommandButton อีเวนต์ที่สำคัญของ CommandButton • Click เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการกดปุ่ม • GotFocusเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ CommandButton เริ่มถูกใช้งาน • LostFocus เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ Command Button ถูกเลิกใช้งาน
MessageBox: กล่องข้อความ MessageBox เป็นเครื่องมือที่ใช้โต้ตอบกับผู้ใช้ โดยจะแสดงข้อมูลเพียงอย่างเดียว แล้วให้ผู้ใช้ Click ปุ่มเลือกในกรณีที่ต้องการให้ผู้ใช้เลือกตอบ
รูปแบบการใช้งาน • MsgBox Prompt[,Buttons][,Title] • Prompt คือข้อความที่ต้องการแสดงใน MessageBox ในกรณีที่ต้องการ แสดงข้อมูลหลายบรรทัดทำได้โดยเชื่อมกับ chr(13) • Buttonsคือส่วนที่ใช้กำหนดการแสดงปุ่มและกำหนดรูปไอคอนบน MessageBox • Title คือส่วนของข้อความที่ต้องการแสดงบนแถบด้านบนของ MessageBox
กลุ่มที่ใช้สำหรับกำหนดปุ่มที่จะแสดงใน MessageBox ค่าคงที่ รายละเอียด VbOKOnly แสดงปุ่ม OK ปุ่มเดียว VbOKCancel แสดงปุ่ม OK และ Cancel VbYesNo แสดงปุ่ม Yes และ No VbYesNoCancel แสดงปุ่ม Yes No และ Cancel VbAbortRetrylgnore แสดงปุ่ม Abort Retry และ lgnore VbRetryCancel แสดงปุ่ม Retry และ Cancel
ข้อแตกต่างของฟังก์ชัน MsgBox ( ) และคำสั่ง MsgBox คือ ถ้าใช้งานในลักษณะของคำสั่ง MsgBox หมายถึง จะไม่มีการส่งค่าใดๆ กลับมา แต่ถ้าใช้งานในลักษณะฟังก์ชัน MsgBox ( ) ก็จะมีการส่งค่ากลับมา 1 ค่า ซึ่งก็คือ ค่าประจำปุ่มที่ผู้ใช้คลิ๊กเลือกในแมสเสจบ๊อกซ์นั่นเอง จะต้องนำค่านี้ ไปเป็นเงื่อนไขในการประมวลผลต่อไป สำหรับค่าที่ส่งกลับมามีความหมายดังนี้
InputBox: กล่องรับข้อความ InputBox เป็นเครื่องมือที่ใช้รับข้อมูลโดยให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูลลงไป แล้วเก็บข้อมูลนั้นไว้ในตัวแปร
รูปแบบการใช้งาน • InputBox(Prompt[,Title][,Default]) • Prompt คือข้อความที่ต้องการแสดงใน InputBox ในกรณีที่ต้องการ แสดงข้อมูลหลายบรรทัดทำได้โดยเชื่อมกับ chr(13) • Titleคือส่วนของข้อความที่ต้องการแสดงบนแถบด้านบนของ InputBox • Defaultคือค่าที่กำหนดให้กรณีที่ไม่มีการป้อนข้อมูลใน InputBox
ฟังก์ชัน Len ( ) และฟังก์ชัน LenB ( ) หน้าที่ ใช้สำหรับหาขนาดของตัวแปร String รูปแบบการใช้งาน Len(string | varname ) ตัวแปร string หรือ varname หมายถึง ข้อความที่คุณต้องการหาขนาด ค่าที่ส่งกลับ เป็นตัวเลขจำนวนจริง Long ซึ่งสามารถแยกได้ 2 กรณี คือ ่ฟังก์ชัน Len ( ) จะคืนค่าเป็นจำนวนตัวอักษรของตัวแปร String ฟังก์ชัน LenB ( ) จะคืนค่าเป็นจำนวนหน่วยความจำที่ตัวแปร String นั้นใช้อยู่ มีหน่วยเป็นไบต์ (bytes) และถ้าตัวแปร String มีช่องว่างอยู่ ช่องว่าง 1 ช่อง จะถือเป็น 1 ตัวอักษรด้วย
Example : Len Private Sub Form_Load()Dim name As String 'ตัวแปรสำหรับเก็บข้อความDim rtn As Long 'ตัวแปรสำหรับเก็บค่าที่ส่งคืนมาจากฟังก์ชัน Len ( ) name = “Hello World" 'กำหนดข้อความให้กับตัวแปร rtn = Len(name) Label1.Caption = rtn 'แสดงค่าที่ได้ โดยใช้คอนโทรล Label มีค่าเท่ากับ 10End Sub
ฟังก์ชัน StrConv หน้าที่ใช้สำหรับแปลงข้อมูลชนิด String ให้อยู่ในรูปแบบที่เราสามารถกำหนดได้ รูปแบบการใช้งาน StrConv(string,conversion ) ตัวแปร string หมายถึง ข้อความ string ที่คุณต้องการแปลง ตัวแปร conversion หมายถึง ตัวแปรที่กำหนดรูปแบบการแปลง string
vbUpperCase • แปลงตัวอักษรให้เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด vbLowerCase • แปลงตัวอักษรให้เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด vbProperCase • แปลงเฉพาะอักษรตัวแรก ของทุกๆ คำทั้งหมด ให้เป็นตัวพิมพ์ใหญ่
Example : StrConv Private Sub Form_Activate() Dim School As String 'ตัวแปรเก็บชื่อ Dim rtn1 As String 'ตัวแปรรับค่าส่งกลับ Dim rtn2 As String 'ตัวแปรรับค่าส่งกลับ School = “suananun" 'กำหนดค่าให้กับตัวแปร FristName rtn1 = StrConv(School, 1)'แปลงให้เป็นตัวใหญ่ทั้งหมด rtn2 = StrConv(School, 3)'แปลงเฉพาะอักษรตัวแรก Print rtn1 Print rtn2End Sub
ฟังก์ชัน Trim ( ), LTrim ( ) และฟังก์ชัน RTrim ( ) หน้าที่ใช้สำหรับตัดช่องว่างใน String โดยที่ • ฟังก์ชัน Trim ( ) ใช้สำหรับตัดช่องว่างด้านซ้ายและด้านขวาของข้อความ String ซึ่งก็จะทำให้เหลือเฉพาะแต่ข้อความล้วนๆ • ฟังก์ชัน RTrim ( ) ใช้สำหรับตัดช่องว่างด้านขวาเพียงด้านเดียว • ฟังก์ชัน LTrim ( ) ใช้สำหรับตัดช่องว่างด้านซ้ายเพียงด้านเดียว
รูปแบบการใช้งาน LTrim(string ) RTrim(string ) Trim(string ) ตัวแปร string หมายถึง ข้อความที่คุณต้องการตัดช่องว่าง ค่าที่ส่งกลับ ข้อมูลชนิด String แยกออกได้ 3 กรณี คือ • ฟังก์ชัน Trim ( ) คืนค่าเป็นข้อความที่ถูกตัดช่องว่างทั้ง 2 ด้านแล้ว • ฟังก์ชัน RTrim ( ) คืนค่าเป็นข้อความที่ถูกตัดช่องว่างเฉพาะด้านขวา • ฟังก์ชัน LTrim ( ) คืนค่าเป็นข้อความที่ถูกตัดช่องว่างเฉพาะด้านซ้าย
Example : Trim Dim testString, rtnStringtestString = " Hello World " 'กำหนดข้อความทดสอบrtnString = LTrim(testString)' ตัดช่องว่างทางซ้ายออก คืนค่า "Hello World "rtnString = RTrim(testString)' ตัดช่องว่างทางขวาออก คืนค่า " Hello World"rtnString = Trim(testString)' ตัดช่องว่างทั้ง 2 ด้าน คืนค่า "Hello World"
ฟังก์ชัน Val ( ) หน้าที่ แปลงตัวแปร หรือข้อมูล ให้เป็นข้อมูลชนิดตัวเลขจำนวนจริง Double รูปแบบการใช้งาน Val (string ) ตัวแปร string หมายถึง ตัวแปร หรือข้อมูลที่คุณต้องการแปลงค่า ค่าที่ส่งกลับ โดยหน้าที่แล้วจะเป็นข้อมูลชนิดตัวเลขจำนวนจริง Double แต่ก็ขึ้นอยู่กับข้อมูลที่เข้ามาด้วย
Example : Val Dim Test As StringTest = Val("1234")'คืนค่า 1234Test = Val(" 1 2 3 4")' คืนค่า 1234Test = Val("12 and 34")' คืนค่า 12 'ผู้ใช้ป้อนค่า 12345 เข้ามาในคอนโทรล TextBoxTest = Val(Text1.Text)' คืนค่า 12345