1 / 83

โครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม โดยโรงงานควบคุม (กลุ่ม 3)

โครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม โดยโรงงานควบคุม (กลุ่ม 3). ตัวอย่างมาตรการอนุรักษ์พลังงาน. โดย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. กรณีตัวอย่างมาตรการอนุรักษ์พลังงาน 1 .เครื่องจักรในกระบวนการผลิต 2 .ระบบส่งจ่าย 3 .ระบบฟ้าแสงสว่าง 4.ระบบปั๊มและพัดลม 5.ระบบอัดอากาศ

barb
Download Presentation

โครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม โดยโรงงานควบคุม (กลุ่ม 3)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วมโดยโรงงานควบคุม (กลุ่ม 3) ตัวอย่างมาตรการอนุรักษ์พลังงาน โดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

  2. กรณีตัวอย่างมาตรการอนุรักษ์พลังงานกรณีตัวอย่างมาตรการอนุรักษ์พลังงาน 1.เครื่องจักรในกระบวนการผลิต 2.ระบบส่งจ่าย 3.ระบบฟ้าแสงสว่าง 4.ระบบปั๊มและพัดลม 5.ระบบอัดอากาศ 6.ระบบปรับอากาศ 7.ระบบไอน้ำ 8.เตาเผา

  3. เครื่องจักรและระบบการผลิตเครื่องจักรและระบบการผลิต

  4. มาตรการ : การจัดโหลดให้เหมาะสมกับเครื่อง Refiner แนวคิด :เครื่อง Refiner เยื่อกระดาษประกอบด้วยมอเตอร์ขนาด 500 kW เป็นต้นกำลัง ตรวจวัดกำลังไฟฟ้าขณะเครื่องทำงานได้ 87 kW แต่เดิมถูกออกแบบให้ทำงานทั้งหมด 6 เครื่องตลอด 24 ชั่วโมง แต่ในทางปฎิบัติทางฝ่ายการผลิตได้ทำการตรวจสอบแล้วว่า ไม่จำเป็นที่จะต้องเดิน เครื่องทั้งหมดในกระบวนการผลิตโดยคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้ยังคงเดิม จึงสามารถหยุดเครื่อง Refiner ได้เป็นจำนวน 3 เครื่อง ที่ฝ่ายผลิต PM # A-1 ผลประหยัดพลังงาน 762,120 kWh/ปี ( 2,065,345บาท/ปี ) เงินลงทุน - บาท ระยะเวลาคืนทุน - ปี

  5. มาตรการ : การเพิ่มอัตราการสงฝายใหมากและเร็วขึ้น เดิมมีการสง LOAD ฝายแบบไมสม่ำเสมอไปยัง PRC และในการสงฝายไปยัง PRC ซึ่งใชระยะเวลาในการสงคอนขางนานถึง 45-60 นาที/ 1 Carrier โรงงานปรับลดระยะเวลาในการสงฝายใหเร็วขึ้นและเพิ่มจํานวนใหมากขึ้นในชวงเวลาที่สั้นลง สามารถลดลงไดถึง10-20 นาที / 1Carrier ลดลงถึง 34-50% การทํางาน ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง

  6. มาตรการ :ปรับปรุงและพัฒนา Hammer Mill#7 แนวคิด :เนื่องจากเครื่องบด 7 เมื่อบดมันเส้นแล้วเกิดการฟุ้งกระจายที่ Screw ใต้เครื่องบดและตัวเครื่องบด ทำให้ผู้ควบคุมการผลิตไม่สามารถปล่อยวัตถุดิบเข้ามาบดได้มาก อันเนื่องมาจาก Screw ใต้เครื่องบดมีความเร็วในการลำเลียงไม่เพียงพอ ประหยัดพลังงานไฟฟ้า = 7,290 kWh/y ( 20,412 บาท/ปี ) เทียบเท่าน้ำมันดิบ =0.00063 ktoe/y

  7. มาตรการ :ปรับปรุงพัฒนา Hammer Mill Extruder แนวคิด :แต่เดิมเครื่องบด Extruder ประสิทธิภาพไม่ดีเท่าที่ควรเพราะจะโดน Screw ขวางทางลมดูดอยู่ ทำให้การลำเลียงวัตถุดิบที่ถูกบดออกจากรูตะแกรงยาก ซึ่งถ้าหากเพิ่มปริมาตรของ Hopper แล้ว Blower จะสามารถดูดวัตถุดิบที่ถูกบดออกจากรูตะแกรงได้ง่ายซึ่งจะทำให้ kWh/Ton ลดลง ประหยัดพลังงานไฟฟ้า = 69,300 kWh/y ( 194,040 บาท/ปี ) เทียบเท่าน้ำมันดิบ =0.006 ktoe/y

  8. มาตรการ : ปรับ Damper ของเครื่อง สเตนเตอร์ ให้เหมาะสม แนวคิด : เพื่อลดความอากาศเย็นเข้าตู้อบ ผลประหยัดพลังงาน 4,344 Liter/ปี ( 58,296 บาท/ปี ) เงินลงทุน - บาท ระยะเวลาคืนทุน - ปี

  9. มาตรการ : นำน้ำที่ใช้ Cooilng ในเครื่องย้อม Jet กลับมาเป็นน้ำย้อม แนวคิด : เป็นการนำความร้อนกลับมาใช้ใหม่ ลดการใช้ไอน้ำลง ผลประหยัดพลังงาน 16,715 Liter/ปี ( 224,327.78 บาท/ปี ) เงินลงทุน - บาท ระยะเวลาคืนทุน - ปี

  10. มาตรการ : ลดขนาดช่องเปิดของเตาอบ (Oven Press) ผลประหยัดพลังงาน 86,936 kWh/ปี ( 259,069 บาท/ปี ) เงินลงทุน - บาท ระยะเวลาคืนทุน - ปี

  11. มาตรการ :จัดการเดินเครื่องเจาะให้เหมาะสม (เจาะให้เต็มหัว) แนวคิด : เพื่อลดการสูญเสียพลังงานโดยเปล่าประโยชน์ ผลประหยัดพลังงาน 19,846.20kWh/ปี (62,317.07 บาท/ปี ) เงินลงทุน - บาท ระยะเวลาคืนทุน - ปี

  12. มาตรการ : การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของ BALL MILL SLIP PREP เนื่องจากปัจจุบัน การทำงานของระบบบดย่อยวัตถุดิบ (BALL MILL SLIP PREP) ใช้เวลาบดย่อยวัตถุดิบนานกว่าข้อกำหนดเดิมของเครื่องจักร 25 % (จาก 15 ชั่วโมง เป็น 20 ชั่วโมง) จึงได้ผลผลิตตามต้องการ จึงทำให้ใช้พลังงานไฟฟ้าสูงขึ้น แนวคิด : ณ ปัจจุบัน โรงงานได้ทำการตรวจสอบหินบดซึ่งพบว่าหินบดไม่ได้ปรับเปลี่ยนตามระยะเวลาที่ต้องดำเนินการจึงให้มีการปรับเปลี่ยนหินบดและเก็บข้อมูลการบดย่อย เงินลงทุน ไม่มี ผลประหยัดพลังงาน 96,034kWh/ปี คิดเป็นเงิน 290,021 บาท/ปี

  13. รูปหินบดที่ที่ได้มาตรฐานเปรียบเทียบกับที่ไม่ได้มาตรฐานรูปหินบดที่ที่ได้มาตรฐานเปรียบเทียบกับที่ไม่ได้มาตรฐาน LARGE MEDIUM SMALL

  14. มาตรการ : นำน้ำมันหล่อเย็นกลับมาใช้ใหม่ แนวคิด :น้ำมันหล่อเย็นที่นำไปทิ้งยังมีน้ำมันอยู่ 1-2 % สามารถนำมากรองและ นำกลับมาใช้ใหม่ โดยการผสมกับน้ำมันใหม่ได้อีก ผลประหยัดพลังงาน 7,020 ลิตร/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัด2,228,699 บาท/ปี เงินลงทุน 179,225 บาท ระยะเวลาคืนทุน 0.08 ปี หมายเหตุ : ผลการประหยัด คิดจากผลรวมของน้ำมันหล่อเย็นที่ประหยัด ค่าบำบัดน้ำและค่าน้ำ

  15. Feed water 30oC Hot water @ 60 oC Flow direction Hot water tank Control Valve Dyeing Machine A Heat exchanger Dyeing Machine B Waste water @ 135 oC Drain มาตรการ : :นำน้ำทิ้งจากกระบวนการย้อมที่อุณหภูมิ 135 oC มาอุ่นน้ำป้อนเครื่องย้อม แนวคิด : นำความร้อนทิ้งจากน้ำทิ้งในกระบวนการย้อม มาอุ่นน้ำป้อน ผลประหยัดพลังงาน 1,311,446.33 MJ/ปี (450,448.88 บาท/ปี ) เงินลงทุน ไม่มีเนื่องจากเป็นการดัดแปลงอุปกรณ์ที่มีอยู่แล้ว

  16. มาตรการ : ลดเวลารอบการทำงานของ Regenerator จาก 20 นาทีเป็น 15 นาที แนวคิด : ลดเวลาต่อรอบจาก 20 นาที เป็น 15 นาที ซึ่งสามารถลดการใช้เชื้อ เพลิงในการเผาไหม้ให้ความร้อนแก่เตาหลอมแก้วได้ ประหยัดเชื้อเพลิงNG 861.11MMBtu/y(232,499.13 บาท/ปี) เทียบเท่าน้ำมันดิบ 0.0215ktoe/y

  17. ระบบส่งจ่าย

  18. ระบบส่งจ่าย มาตรการ : ติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมระบบส่งจ่ายไฟฟ้าอัตโนมัติที่ตู้ MDB ภาพก่อนปรับปรุง ภาพหลังปรับปรุง ผลพลังงาน 148,726 kWh/ปี (432,793 บาท/ปี ) เงินลงทุน 528,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน 1.22 ปี

  19. ระบบส่งจ่าย มาตรการ : ปรับปรุงระบบส่งจ่ายไฟฟ้า แนวคิด : ติดตั้งระบบควบคุมแรงดันไฟฟ้าและปรับค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า ให้มีค่าเหมาะสมกับภาระใช้งาน ผลประหยัดพลังงาน 192,000 kWh/ปี (666,744 บาท/ปี) เงินลงทุน 1,500,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน 2.25 ปี

  20. ระบบส่งจ่าย มาตรการ : ปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า แนวคิด : ลดความสูญเสียในหม้อแปลง และ ค่าปรับจากการไฟฟ้า ผลประหยัดพลังงาน 19,472.16 kWh/ปี (107,586.56 บาท/ปี ) เงินลงทุน 180,000บาท ระยะเวลาคืนทุน 1.67 ปี

  21. ระบบส่งจ่าย มาตรการ :รวมโหลดหม้อแปลงไฟฟ้า แนวคิด : รวมโหลดหม้อแปลงไฟฟ้า TR 3 และ TR 2 เข้าด้วยกัน (นำโหลดจาก TR2 มาไว้ที่ TR 3 ) ผลประหยัดพลังงาน 15,192.27 kWh/ปี (45,424.90 บาท/ปี) เงินลงทุน 17,500 บาท ระยะเวลาคืนทุน 0.39 ปี

  22. ระบบส่งจ่าย มาตรการ : ปรับลดแรงดันไฟฟ้าที่หม้อแปลง แนวคิด : ทีมงานอนุรักษ์พลังงานสำรวจพบว่าแรงดันไฟฟ้าของหม้อแปลงสูงจึงมี แนวคิดลดระดับแรงดันไฟฟ้าที่หม้อแปลงเป็นผลทำให้พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ลดลง โดยที่แรงดันไฟฟ้าที่ปลายทางยังอยู่ในระดับที่เหมาะสมกับพิกัดของอุปกรณ์ ผลประหยัดพลังงาน 200,121 kWh/ปี (600,363 บาท/ปี )

  23. ระบบส่งจ่าย มาตรการ : การลดแรงดันไฟฟ้าจาก 412 Volt เหลือ 400 Volt ในระบบการส่งจ่ายไฟฟ้าของโรงงานนั้น วัดแรงดันไฟฟ้าได้ 412 V ซึ่งตามพิกัดของมอเตอร์ที่ใช้ในเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในโรงงานต้องการใช้แรงดันไฟฟ้าที่ 380 V เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้าจึงทำการปรับลดแรงดันไฟฟ้าโดยการปรับ Tap ที่หม้อแปลงไฟฟ้า หลังปรับลด ก่อนปรับลด ประหยัดพลังงานไฟฟ้า 35,178 kWh/y (104,126 บาท/ปี ) เทียบเท่าน้ำมันดิบ 0.0029 ktoe/y

  24. มาตรการรวมโหลดหม้อแปลงไฟฟ้ามาตรการรวมโหลดหม้อแปลงไฟฟ้า การใช้โหลดหม้อแปลงบางลูกต่ำได้แก่TR1ขนาด 2000kVAใช้โหลดต่ำเพียง5% TR2ขนาด 2000kVAใช้โหลดที่46% TR10ขนาด 2000kVAใช้โหลดต่ำเพียง26% และ TR12ขนาด 2000kVA ใช้โหลดต่ำเพียง18% ทำให้มีการสูญเสียพลังงานโดยไม่จำเป็น สามารถทำการปรับปรุงการสูญเสียโดยการรวมโหลดหม้อแปลงที่มีการใช้โหลดต่ำให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ผลประหยัดที่ได้ 140,217 บาท/ปี หรือเท่ากับ 0.0073 ktoe/year ระยะเวลาคืนทุน0 ปี

  25. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง

  26. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง มาตรการเปลี่ยนบัลลาสต์เป็นแบบอิเล็กทรอนิกส์ แนวคิด :บัลลาสต์แบบแกนเหล็กที่มีอายุการใช้งานนานมีค่ากำลังไฟฟ้าสูญเสีย13 W/ตัว ส่วนบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์จะมีค่ากำลังไฟฟ้าสูญเสียเพียงเล็กน้อยอยู่ที่ 3 W/ตัว ผลประหยัดพลังงาน 62,546.4kWh/ปี (175,592บาท/ปี ) เงินลงทุน 300,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน 1.709 ปี

  27. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง มาตรการปิดหลอดฟลูออเรสเซนต์ แนวคิด :ปิดหลอดไฟฟ้าจำนวน 3,000 หลอด ในช่วงเวลาพักกลางวันจะสามารถทำให้ลดการใช้พลังงานโดยไม่จำเป็นได้เป็นอย่างมาก ผลประหยัดพลังงาน 42,814.5kWh/ปี(120,197.4 บาท/ปี ) เงินลงทุน - บาท ระยะเวลาคืนทุน - ปี

  28. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง มาตรการปิดหลอดดิสชาร์จความดันสูง แนวคิด :ปิดการใช้หลอดไฟฟ้าในช่วงเวลากลางวันสามารถที่ จะช่วยลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าได้เป็นอย่างมาก ผลประหยัดพลังงาน 279,225 kWh/ปี (783,896 บาท/ปี ) เงินลงทุน - บาท ระยะเวลาคืนทุน - ปี

  29. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง มาตรการ : การใช้หลอดเมทัลฮาไลด์แทนหลอดแสงจันทร์ สำหรับโคมไฟ High bay หลอดเมทัลฮาไลด์250 W ผลประหยัดพลังงาน 43,200 kWh/ปี (144,288 บาท/ปี ) เงินลงทุน 142,020 บาท ระยะเวลาคืนทุน 0.98 ปี

  30. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง มาตรการ ลดหลอดแสงสว่างโดยใช้โคมสะท้อนแสง แนวคิด : ติดตั้งแผ่นสะท้อนแสงแล้ว ทำให้สามารถลดหลอดแสงสว่างได้ 1 หลอดต่อโคม โดยใช้แผ่นสะท้อนแสง ผลประหยัดพลังงาน 145,557.98 kWh/ปี (371,172.86 บาท/ปี ) เงินลงทุน 207,450 บาท ระยะเวลาคืนทุน 0.56 ปี

  31. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง มาตรการ : การลดการใช้งานหลอดแสงจันทร์ใน Line ผลิต แนวคิด : กำหนดเวลาการเปิด-ปิด และรณรงค์ให้พนักงานทราบถึงเวลาของการเปิดใช้งานหลอดแสงจันทร์ในช่วงเวลากลางวัน ประหยัดพลังงานไฟฟ้า 58,800kWh/y(156,172.80 บาท/ปี ) เทียบเท่าน้ำมันดิบ 0.0050ktoe/y

  32. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง มาตรการ : ใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์แทนหลอดแสงจันทร์หลอดแสงจันทร์เป็นหลอดที่ใช้พลังงานสูง สามารถเปลี่ยนมาใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ได้ ภาพก่อนปรับปรุง ภาพหลังปรับปรุง ผลพลังงาน 60,501 kWh/ปี (176,058 บาท/ปี ) เงินลงทุน 150,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน 0.85 ปี

  33. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง มาตรการ :ดับไฟช่วงพักและช่วงเบรค แนวคิด :โรงงานมีการทำงานเป็น 2 กะ แต่ละกะจะมีช่วงพักเบรคเพื่อให้พนักงานพัก และการพักกลางวันตามปกติ ช่วงเวลาดังกล่าวโรงงานได้ใช้มาตรการปิดไฟเพื่อลดการใช้พลังงาน ผลประหยัดพลังงาน 5,120 kWh/ปี (15,053 บาท/ปี ) เงินลงทุน - บาท

  34. มอเตอร์และพัดลม

  35. มอเตอร์และพัดลม มาตรการปรับปรุงระบบอากาศโรงงาน (ลดการใช้พัดลม) แนวคิด : ยกเลิกการใช้พัดลมระบายความร้อน จำนวน 40 ตัวโดยการปรับปรุง ระบบระบายอากาศทางทิศเหนือและทิศตะวันออก(โครงสร้างตัวอาคาร) ผลประหยัดพลังงาน 130,700 kWh/ปี (366,925บาท/ปี ) เงินลงทุน - บาท ระยะเวลาคืนทุน - ปี

  36. มอเตอร์และพัดลม มาตรการยกเลิกการใช้พัดลมระบายอากาศในช่วงพักกลางวัน แนวคิด: หยุดการใช้พัดลมระบายความร้อนจำนวน300ตัว ในช่วงเวลาพักกลางวันเนื่องจากไม่มีพนักงาน ผลประหยัดพลังงาน 34,717kWh/ปี (97,496บาท/ปี ) เงินลงทุน - บาท ระยะเวลาคืนทุน - ปี

  37. มอเตอร์และพัดลม มาตรการที่ ปิดปั๊มป์ไฮดรอลิกช่วงเปลี่ยนแม่พิมพ์ แนวคิด :มอเตอร์ที่ใช้ในการขับปัมป์นั้นมีขนาดใหญ่ ดังนั้นถ้ามีการหยุดการ ใช้งานก่อนที่ในช่วงเปลี่ยนแบบแม่พิมพ์ ก็จะสามารถช่วยลดพลังงานไฟฟ้าได้ เป็นจำนวนมาก ผลประหยัดพลังงาน 441,698.4kWh/ปี (1,240,024 บาท/ปี ) เงินลงทุน - บาท ระยะเวลาคืนทุน - ปี

  38. มอเตอร์และพัดลม มาตรการ : ติดตั้ง Inverter ให้ปั๊มน้ำ Chiller แนวคิด : เพื่อลดรอบของ ปั๊มน้ำ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน ลดกำลังลง จาก 11 kW เป็น 6.6 kW ผลประหยัดพลังงาน 57,024 kWh/ปี (171,072 บาท/ปี ) เงินลงทุน 200,000บาทคืนทุน 1.17 ปี

  39. มอเตอร์และพัดลม มาตรการ :การลดการเดินพัดลมระบายอากาศ แนวคิด : พัดลมอุตสาหกรรมของโรงงานมีจำนวนมาก และใช้งานทุกๆตัวตลอดเวลา การจัดการใช้งานโดยการติด Timer แล้วลดเวลาการใช้งาน ลดการใช้พลังงานลงได้ ผลประหยัดพลังงาน 22,435 kWh/ปี (66,633บาท/ปี ) เงินลงทุน 6,990 บาท ระยะเวลาคืนทุน 0.1 ปี

  40. มอเตอร์และพัดลม มาตรการ : ลดขนาดปั๊มน้ำหล่อเย็น แนวคิด : ปั๊มเดินมีการออกแบบใช้งานมากกว่าภาระการทำงานจริง ทำให้สูญเสียพลังงาน สามารถลดขนาดปั๊มลงได้ ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง ผลประหยัดพลังงาน 25,726kWh/ปี (73,834 บาท/ปี ) เงินลงทุน บาท -(ใช้มอเตอร์ที่มีอยู่แล้ว) ระยะเวลาคืนทุน - ปี

  41. มอเตอร์และพัดลม มาตรการ : การลดการใช้พลังงานไฟฟ้าใน Blower เครื่อง ISโดยการลดขนาด Pulley แนวคิด : การออกแบบเดิมมีการเผื่อใช้งานมาก ดังนั้นจึงทดลองลดขนาดพูลเล่ ลงเพื่อทำงานที่สภาวะจริง ประหยัดพลังงานไฟฟ้า 163,296kWh/y(431,101 บาท/ปี) เงินที่ใช้ในการลงทุน 5,000.00 บาท เวลาคืนทุน 0.012 ปี เทียบเท่าน้ำมันดิบ 0.0139ktoe/y

  42. ระบบอากาศอัด

  43. ระบบอากาศอัด มาตรการ : ใช้คอมเพรสเซอร์ตัวเล็ก (90 kW) แทนตัวใหญ่ (160 kW)การทำงานจริงสามารถใช้เครื่องขนาดเล็กลงได้ ผลประหยัดพลังงาน 255,150 kWh/ปี (757,796 บาท/ปี) เงินลงทุน - บาท ระยะเวลาคืนทุน - ปี

  44. ระบบอากาศอัด มาตรการ : ลดการรั่วไหลของอากาศอัดในระบบ แนวคิด : ในโรงงานมีการรั่วไหลของอากาศอัดตามจุดต่างในระบบ อากาศอัดเป็นอากาศที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย จึงทำการซ่อมจุดรั่วต่างๆ ผลประหยัดพลังงาน 153,961.5 kWh/ปี (538,865 บาท/ปี ) เงินลงทุน 60,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน 0.11 ปี

  45. ระบบอากาศอัด มาตรการ : ลดความดันอากาศที่ใช้ในการทำความสะอาด แนวคิด : โรงงานมีจุดใช้ลมอัดในการทำความสะอาดร่างกาย แต่ลมอัดมีความดันสูง สามารถลดความดันลมลงได้ ผลประหยัดพลังงาน 137,970 kWh/ปี (482,895 บาท/ปี ) เงินลงทุน 20,000บาท ระยะเวลาคืนทุน 0.04 ปี

  46. ระบบอากาศอัด มาตรการ: ลดอุณหภูมิของอากาศทางเข้าเครื่องอัดอากาศ แนวคิด : เพิ่มการระบายอากาศ บริเวณตั้งเครื่องอักอากาศ ให้มีอุณหภูมิ ใกล้เคียงกับภายนอก โดยการเปิดผนังข้าง และทำให้ลมไหลเวียน ผลประหยัดพลังงาน 24,444.51 kWh/ปี (85,555 บาท/ปี ) เงินลงทุน 50,000บาท ระยะเวลาคืนทุน 0.85 ปี

  47. ระบบอากาศอัด มาตรการ : การใช้ air gun ในการทำความสะอาดโรงงาน แนวคิด : การใช้ลมในการทำความสะอาดอุปกรณ์การผลิต หรือพื้นที่ในโรงงานจะใช้สายยางปลายเปิดโดยอาศัยการปิดวาล์วแทน สามารถนำ Air gun มาใช้แทนได้ ผลประหยัดพลังงาน 11,475 kWh/ปี (34,081 บาท/ปี ) เงินลงทุน 17,000บ ระยะเวลาคืนทุน 0.5 ปี

  48. ระบบอากาศอัด มาตรการ : มาตรการปิดปั๊มลมช่วงรอกะ แนวคิด : ช่วงเวลาเปลี่ยนกะไม่มีการทำงาน ดังนั้นช่วงเวลาระหว่างรอกะดังกล่าวสามารถหยุดเครื่องอัดอากาศได้ ผลประหยัดพลังงาน 28,768 kWh/ปี (85,440 บาท/ปี ) เงินลงทุน บาท - ระยะเวลาคืนทุน - ปี

  49. ระบบอากาศอัด มาตรการ : การเดินเครื่องอัดอากาศชุดที่มีประสิทธิภาพสูงเป็นหลัก แนวคิด : โรงงานมีเครื่องอัดอากาศหลายชุดการใช้งานจะมีชุดหลักๆที่ทำงานตลอดเวลา ที่เหลือจะเดินเสริม ชุดหลักๆควรเลือกเครื่องที่มีประสิทธิภาพสูง ประหยัดพลังงานไฟฟ้า 2,807,149.86kWh/y(7,363,154.08 บาท/ปี ) เทียบเท่าน้ำมันดิบ 0.2392ktoe/y

  50. ระบบทำความเย็น/ปรับอากาศระบบทำความเย็น/ปรับอากาศ

More Related