70 likes | 391 Views
ตารางที่มาของกฎหมายมหาชน. ผู้แทนของรัฐลงนาม. ตัวแทน ทฤษฎีการแยกอำนาจจากตัวบุคคลมาให้รัฐ เทวาธิปไตย พระเจ้า (อไควนัส) ทฤษฎีอำนาจอธิปไตยเป็นของรัฐ สมบูรณญาสิทธิราชย์ กษัตริย์ (โบแดง,ฮอบส์)
E N D
ตารางที่มาของกฎหมายมหาชนตารางที่มาของกฎหมายมหาชน ผู้แทนของรัฐลงนาม • ตัวแทน • ทฤษฎีการแยกอำนาจจากตัวบุคคลมาให้รัฐ เทวาธิปไตย พระเจ้า (อไควนัส) • ทฤษฎีอำนาจอธิปไตยเป็นของรัฐ สมบูรณญาสิทธิราชย์ กษัตริย์ (โบแดง,ฮอบส์) • (ชาติ : ซิเอเย่ส์) ประชาธิปไตย ประชาชน(ลอค,รุสโซ)- -หลักนิติรัฐ รัฐสภา(อังกฤษ) • หลักความชอบด้วยกฎหมาย • ทฤษฎีอำนาจในการจัดตั้งองค์กรสูงสุด/อำนาจจัดให้มีรัฐธรรมนูญ • ทฤษฎีสัญญาประชาคม • ความเป็นนิติบุคคลของรัฐ • ทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจ(มองเตสกิเออร์) รัฐ สนธิสัญญา ข้อตกลงระหว่างประเทศ องค์การ ระหว่าง ประเทศ รัฐ ควบคุมกำกับ สายบังคับบัญชา การตีความโดย องค์กรระดับ ล่างมีการควบคุม แบบแนวตั้ง กระทรวง,ทบวง,กรม (ไม่เป็นนิติบุคคล) จังหวัด (ไม่เป็นนิติบุคคล) อบต., อบจ., เทศบาล (เป็นนิติบุคคล) การบริหารส่วนกลาง (รวมศูนย์อำนาจทางปกครอง) การบริหารส่วนภูมิภาค (กระจายรวมศูนย์อำนาจทางปกครอง) การบริหารส่วนท้องถิ่น (กระจายอำนาจทางปกครอง) กฎหมายท้องถิ่น ทวินิยม มีอนุวัติการ 1.คำปรารภรัฐธรรมนูญมีการรับรองสิทธิเสรีภาพ 2. การรับรองสิทธิเสรีภาพในตัวรัฐธรรมนูญ 3. จารีตประเพณีทางรัฐธรรมนูญ /ธรรมเนียมปฏิบัติทางรัฐธรรมนูญ เอกนิยม ตีความกฎเกณฑ์แห่งกม. ศาลปกครอง แนวคิดที่กำหนดให้ฝ่ายบริหารตรากฎเกณฑ์ 1. ทฤษฎีบังคับตามกฎหมายแต่ละฉบับ สะท้อนแบบของไทย 2. ทฤษฎีบังคับตามกฎหมายทั้งหลาย สะท้อนแบบของฝรั่งเศส 3. ทฤษฎีกฎเกณฑ์ทั่วไปที่ใช้บังคับกับประชาชนและกฎเกณฑ์ ภายในของฝ่ายบริหาร สะท้อนแบบเยอรมัน ที่ขัดต่อ รัฐธรรมนูญ ตีความกฎหมาย ศาลรัฐธรรมนูญ • แนวความคิด • ตัวแทนประชาชน • ทฤษฎีแบ่งแยกอำนาจ นิติบัญญัติ ระบบรัฐสภา - อำนาจเดี่ยว - อำนาจคู่ บริหาร ปัจจัยที่ทำให้ฝ่ายบริหาร ตรากฎเกณฑ์ - เทคนิค - สถานการณ์ ศาล ฝ่ายปกครอง จารีตประเพณีทางกฎหมายปกครอง พระราชบัญญัติ 1. ทั่วไปไม่ระบุตัวบุคคล 2. การจำกัดสิทธิเสรีภาพ ต้องตราเป็นกฎหมาย 2.1 จำกัดไม่ได้เลย 2.2 จำกัดได้โดยมีเงื่อนไข 2.3 เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ให้สัตยาบัน สนธิสัญญา ข้อตกลง ระหว่างประเทศ. • เป็นผู้ใช้กฎหมาย จึงตีความ • ตามกฎหมาย • หลักความเป็นอิสระของศาล • หลักแบ่งแยกอำนาจ • การตีความกฎหมาย • ค้นหาความหมายของกฎหมาย • ควบคุมตามลำดับชั้น • รวมศูนย์อำนาจในการตีความ • หลักทั่วไปของกฎหมาย • - ค้นเอง • - สร้างขึ้น • กฎเกณฑ์แห่งกฎหมาย • พระราชกำหนด • พระราชกฤษฎีกา • กฎกระทรวง , ประกาศกระทรวง • ข้อบังคับ, กฎ • มติคณะรัฐมนตรี การตีความโดยนิติบัญญัติ การตีความโดยฝ่ายบริหาร การตีความโดยองค์กรทางการเมืองระดับสูง การควบคุมแบบแนวนอน ฎีกาที่ 1/2489 ฎีกาที่ 766/2505 ฎีกาที่ 921/2536 สะท้อน หลักทั่วไปของกฎหมาย = ออกกฎหมายย้อนหลังเป็นโทษทำไม่ได้ = ถ้าไม่มีบทกฎหมายบัญญัติให้อำนาจองค์กรใด ในการวินิจฉัยกฎหมายขัดรัฐธรรมนูญ ให้เป็นอำนาจของศาลยุติธรรม ประชาชน/ทุกคนของรัฐ/องค์กรของรัฐ ทุกๆคนต้องอยู่ภายใต้ หลักแห่งความชอบด้วยกฎหมาย