1 / 95

การจำแนกพืช

การจำแนกพืช. Plant Classification. วิธีการจำแนก. จำแนกโดยวิธีทางพฤกษศาสตร์ (Botanical Classification) จำแนกโดยอาศัยอายุของพืช (Life-cycle Classification) จำแนกโดยอาศัยประเภทของใบเลี้ยง (Cotyledon Classification). วิธีการจำแนก.

bardia
Download Presentation

การจำแนกพืช

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจำแนกพืช Plant Classification

  2. วิธีการจำแนก • จำแนกโดยวิธีทางพฤกษศาสตร์ (Botanical Classification) • จำแนกโดยอาศัยอายุของพืช (Life-cycle Classification) • จำแนกโดยอาศัยประเภทของใบเลี้ยง (Cotyledon Classification)

  3. วิธีการจำแนก • จำแนกโดยอาศัยกระบวนการสังเคราะห์แสง (Photosynthesis Process Classification) • จำแนกโดยอาศัยการตอบสนองต่อช่วงแสง (Photoperiod Sensitivity Classification) 6. จำแนกโดยอาศัยความต้องการน้ำ (Water Requirement Classification)

  4. วิธีการจำแนก 7. จำแนกโดยอาศัยการตอบสนองต่ออุณหภูมิ (Temperature Sensitivity Classification) 8. จำแนกตามวิธีการทางพืชสวน ( Horticulture Classification) 9.จำแนกตามวิธีการทางพืชไร่ (Agronomy Classification) ส่วนใหญ่เน้นทางการเขตกรรมและการใช้ประโยชน์

  5. 1. จำแนกโดยวิธีทางพฤกษศาสตร์ (Botanical Classification)

  6. พืชหนึ่งชนิด = 1 specy ( พหูพจน์ = species) • ชื่อทางพฤกษศาสตร์ ประกอบด้วย Genus +specy • เช่น มะม่วง = Mangifera indica หรือ Mangiferaindica ข้าวโพด = Zea mays หรือ Zeamays

  7. การจัดหมวดหมู่ Kingdom Division Class Order Family Genus Species Variety

  8. Kingdom: Plant • Division: พืชทางการเกษตรมีเพียง Division: Tracheophyta เพียง division เดียว ซึ่งเป็นพืชชั้นสูง มี ระบบราก ลำต้น ใบ มีvascular หรือ tracheary system

  9. Division: Tracheophyta แบ่งออกเป็น 12 classes (มีและไม่มีเมล็ด) มีเพียง 3 classes ที่ใช้ปลูกทางการเกษตรคือ 1. Class Filicinae (Fern) 2. Class Gymnospermae 3. Class Angiospermae (flowering plant)

  10. Class Gymnospermae แบ่งออกเป็น 1. Order Coniferales (สน) 2. Order Ginkgoales (แปะก๊วย) 3. Order Cycadales (ปรง)

  11. Class Angiosperm (Flower plants) แบ่งออกเป็น 2 subclasses • Subclass Monocotyledoneae • Subclass Dicotyledoneae

  12. Order: เป็นพืชที่มีหรือไม่มี กลีบดอก กลีบเลี้ยง เช่น Graminales (ข้าว), Rosales (ถั่วลิสง)

  13. Family: เป็นพืชบกหรือพืชน้ำ จำนวนเกสรตัวเมีย การเกิดใบบนต้น มีหรือไม่มีกลีบเลี้ยง ลักษณะดอก ผล คล้ายกัน  Genus: ลักษณะของรังไข่ มีลำต้นหรือไม่  Species: ลักษณะของใบ  Variety: พืชชนิดหนึ่ง ๆ อาจมีหลายพันธุ์

  14. 2. จำแนกโดยอาศัยอายุของพืช (Life-cycle Classification)

  15. วิธีนี้อาศัยหลักการจำแนกโดยดูอายุของพืชหรือลักษณะวิธีนี้อาศัยหลักการจำแนกโดยดูอายุของพืชหรือลักษณะ การเจริญเติบโตของพืชเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท • พืชล้มลุก (Annuals plant) winter annuals และ summer annuals • พืชค้างปีหรือคาบปี (Biennials plant) • พืชยืนต้น (Perennials plant)

  16. 3. จำแนกโดยอาศัยประเภทของใบเลี้ยง (Cotyledon Classification)

  17. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว (Monocotyledons) • พืชใบเลี้ยงคู่ ( Dicotyledons)

  18. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว (Monocotyledons) 2. พืชใบเลี้ยงคู่ (Dicotyledons) http://www.pinkmonkey.com/studyguides/subjects/biology-edited/chap15/fig15_21.gif

  19. 4. จำแนกโดยอาศัยกระบวนการสังเคราะห์แสง (Photosynthesis Process Classification)

  20. พืช C3 • พืช C4 • พืช CAM

  21. 5. จำแนกโดยอาศัยการตอบสนองต่อช่วงแสง (Photoperiod Sensitivity Classification)

  22. Short-day plants (พืชวันสั้น) • Long-day plants (พืชวันยาว) • Intermediate-day Plant • Day-neutral plants (พืชที่ไม่ไวต่อแสง)

  23. 6. จำแนกโดยอาศัยความต้องการน้ำ (Water Requirement Classification)

  24. Hydrophytes (ในน้ำ) 1.1 aquatic plants 1.2 bog plants 2. Mesophyte 3. Xerophyte 4. Aerophyte 5. halophyte

  25. 7. จำแนกโดยอาศัยการตอบสนองต่ออุณหภูมิ (Temperature Sensitivity Classification)

  26. Tropical crops • Subtropical crops • Temperate crops

  27. 8. จำแนกตามวิธีการทางพืชสวน ( Horticulture Classification) 9. จำแนกตามวิธีการทางพืชไร่ (Agronomy Classification)

  28. ความแตกต่างระหว่างพืชไร่และพืชสวนความแตกต่างระหว่างพืชไร่และพืชสวน • พืชไร่ • - ปลูกในพื้นที่มาก • - ราคาต่อหน่วยพื้นที่ต่ำ • - Extensive care • - ส่วนใหญ่ใช้เป็นอาหาร • และปัจจัยอื่นๆ เช่น ฝ้าย • พืชสวน • - ปลูกในพื้นที่น้อย • - ราคาต่อหน่วยพื้นที่สูง • - Intensive care • - เป็นทั้งอาหารและ • สุนทรียภาพ

  29. พืชโดยทั่วไป = Plant พืชปลูก = Crop พืชไร่ = Agronomy: Field Crop พืชสวน = Horticulture Crop

  30. พืชไร่ Agronomic Classification จำแนกตามการใช้เป็นอาหารและ/หรือ ประโยชน์ทางการเกษตร ได้ 14 กลุ่ม 1. พืชอาหารสัตว์ (Forage Crop) 1.1 Pasture Crops 1.2 Feed Crops 1.3 Silage Crops 1.4 Soiling Crops

  31. พืชไร่ 2. Grain Crops 3. Cereals Crops 4. Root/tuber crops 5. Fiber Crops 6. Oil Crops 7. Sugar Crops

  32. พืชไร่ 8. Industrial Crops 9. Catch Crops 10. Cash Crops 11. Nurse/companion Crops 12. Green manure Crops 13. Cover Crops 14. Stimulants, medicinal and narcotic crops

  33. การจัดจำแนกพืช การจัดจำแนกพืชจะต้องอาศัยลักษณะทางสัณฐานวิทยาของพืช ได้แก่ ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด

  34. ราก (Root) ราก เป็นอวัยวะของพืช การจำแนกรากโดยอาศัยจุดกำเนิดของราก แบ่งได้ 3 ชนิดคือ 1) รากแก้ว (Tap root) 2) รากแขนง (Lateral root) 3) รากพิเศษ (Adventitious root)

  35. ราก (Root) รากพืชบางชนิดยังมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและทำหน้าที่พิเศษ เรียกว่า modified root 1)รากสะสมอาหาร (Storage root) 2)รากฝอย (Fibrous root) 3)รากสังเคราะห์แสง (Photosynthetic root) 4)รากยึดเกาะ (Climbing root) 5)รากเบียน (Parasite root) 6)รากหายใจ (Aerating root) 7)รากค้ำจุน (Prop root)

  36. ลำต้นใต้ดิน

  37. Rhizome ที่มา :www.answers.com

  38. Tuber ที่มา :www.answers.com

  39. Bulb ที่มา :www.answers.com

  40. Corm ที่มา :www.answers.com

  41. ลำต้น (Stem) ลักษณะของลำต้นสามารถนำมาช่วยในการจำแนกได้เช่น ลักษณะของเปลือกไม้ ซึ่งเปลือกไม้แบ่งออกเป็น 2 ชั้นได้แก่ ที่มา : www.nano-bio.com

  42. เปลือกไม้ชั้นนอก (outer bark) เป็นส่วนของเปลือกไม้ที่ตายแล้ว นับจากผิวนอกของลำต้นเข้าไปถึงเซลล์ชั้นในสุดของคอร์ก การแตก ของเปลือกไม้ชั้นนอกของพืชแต่ละชนิดจะมีสีสันต่าง ๆ ลักษณะการ แตกของเปลือกไม้ชั้นนอกมีหลายประเภทดังนี้คือ • 1) เปลือกไม้เรียบ (Smooth bark) • 2) เปลือกไม้ร่อง (Fissured bark) • 3) เปลือกแตกเป็นเหลี่ยม (Cracked bark) • 4) เปลือกไม้เป็นเกล็ด (Scaly bark)

  43. 5) เปลือกไม้เป็นเกล็ดเล็ก (Dippled scaly bark) • 6) เปลือกไม้ล่อนเป็นแผ่น (Peeling bark) • 7) เปลือกไม้ล่อนเป็นแถบยาว (Stripping bark) • 8) เปลือกไม้เป็นชัน (Resinous bark) • 9) เปลือกไม้เป็นหนาม (Thorny bark)

  44. Smooth bark ที่มา :www. Forestry.ky.gov

  45. Fissured bark ที่มา :www. Forestry.ky.gov

  46. Cracked bark ที่มา :www. Forestry.ky.gov

  47. Scaly bark ที่มา :www. Forestry.ky.gov

  48. Stripping bark ที่มา :www. Forestry.ky.gov

  49. Resinous bark ที่มา :www. Forestry.ky.gov

  50. Peeling bark ที่มา :www. Forestry.ky.gov

More Related