1 / 41

สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล

สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล. Statistic for Data Analysis. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) :. Raw Data. Modify. Questionnaire. Information.

barness
Download Presentation

สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล Statistic for Data Analysis

  2. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis): Raw Data Modify Questionnaire Information การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นกระบวนการแปลงข้อมูลดิบ (Raw Data) ที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็นผลลัพธ์โดย ใช้วิธีการทางสถิติ เพื่อนำไปสรุปผลเพื่อตอบประเด็นของปัญหาการวิจัย

  3. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล มาตราการวัด (Measurement): จำแนกได้ 4 ระดับ : 1. มาตราการวัดนามบัญญัติ (Nominal Scale) มาตราการวัดเรียงลำดับ (Ordinal Scale) มาตราการวัดอันตรภาค (Interval Scale) มาตราการวัดอัตราส่วน (Ratio Scale) 2. Nominal Scale 3. Ordinal Scale 4. Interval Scale Ratio Scale

  4. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล มาตราการวัด (Measurement): 1. มาตราการวัดนามบัญญัติ (Nominal Scale) : เป็นมาตราการวัดระดับต่ำที่สุดที่ใช้จำแนกความแตกต่างของสิ่งที่ต้องการวัดออกเป็นกลุ่ม เช่น เพศ อาชีพ ศาสนา ซึ่งไม่สามารถนำมากระทำทางคณิตศาสตร์ได้ แต่นำมารวมกันได้ เพศ : ชาย = 1 หญิง = 2อาชีพ : พนักงาน = 1 รับจ้าง = 2 รับราชการ = 3 ส่วนตัว = 4 ทั่วไป = 5 อื่น ๆ =6

  5. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล มาตราการวัดนามบัญญัติ (Nominal Scale) : ตัวอย่างแบบสอบถาม : 1. เพศ : ชาย หญิง ศาสนา : พุทธ  อิสลาม คริสต์ อาชีพ : รับจ้าง  เอกชน ราชการ  ส่วนตัว  อิสระ อื่น ๆ ภูมิลำเนา :  กทม.  ภาคเหนือ  ภาคใต้  ภาคตะวันออก  ภาคอีสาน 2. 3. 4.

  6. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล มาตราการวัด (Measurement): 2. มาตราการวัดเรียงลำดับ (Ordinal Scale) : เป็นมาตราการวัดระดับสูงกว่ามาตรานามบัญญัติ ใช้สำหรับอันดับที่หรือตำแหน่งที่ต้องการวัด ตัวเลขจึง บอกความหมายในลักษณะของ มากน้อย สูง-ต่ำ ซึ่งบอกได้เพียงทิศทาง - อันดับเพลงยอดนิยมประจำสัปดาห์ -การจัดอันดับการประกวดนางงาม

  7. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล มาตราการวัดเรียงลำดับ (Ordinal Scale) : ตัวอย่างแบบสอบถาม : 1. เรียงลำดับกีฬาที่ท่านคลั่งไคล้มากที่สุด (1-3ข้อ) .... กอล์ฟ .... ตีคลี .... ปาเป้า .... ฟันดาบ .... มวย UFC .... อื่น ๆ (โปรดระบุ)

  8. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล มาตราการวัด (Measurement): 3. มาตราการวัดอันตรภาค (Interval Scale) : เป็นมาตราการวัดระดับสูงกว่า 2 มาตราแรก กำหนดตัวเลขให้มีช่องว่างเท่า ๆ กัน สามารถนำมาเปรียบเทียบได้ว่ามีปริมาณเท่าใด เป็นกี่เท่า สามารถใช้สถิติได้เกือบทุกชนิดในการกระทำทางคณิตศาสตร์ แต่ในมาตรานี้ไม่มีศูนย์แท้ (Real Zero) มีเพียงศูนย์สมมติ อุณหภูมิ คะแนนจากการสอบ ระดับความพึงพอใจ

  9. ระดับ มากที่สุด 5 น้อยที่สุด 1 ปานกลาง 3 รายการ น้อย 2 มาก 4 1. ชอบดื่ม 2. ชอบเที่ยว 3. ชอบท้าทาย สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล มาตราการวัดอันตรภาค (Interval Scale) : ตัวอย่างแบบสอบถาม :

  10. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล มาตราการวัด (Measurement): 4. มาตราการวัดอัตราส่วน (Ratio Scale) : เป็นมาตรการวัดระดับสูงที่สุด มีคุณสมบัติเหมือนมาตราการวัดอันตรภาค มีจุดเริ่มต้นที่ศูนย์แท้ สามารถกระทำทางคณิตศาสตร์ทุกชนิด นาย ก อายุ : 25 ปี ส่วนสูง : 175 ซม. สอบได้ : 50 คะแนนมีเงิน 0 บาท (ไม่มีเงินเลย)

  11. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล มาตราการวัดอัตราส่วน (Ratio Scale) : ตัวอย่างแบบสอบถาม : 1. อายุของท่าน ................. ปี รายได้เฉลี่ยต่อปี ........................ บาท จำนวนรถยนต์ที่ครอบครอง .............. คัน ค่าใช้จ่ายในการเดินทางต่อปี ............... บาท จำนวนบุตร/ธิดา ............... คน 2. 3. 4. 5.

  12. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติเชิงบรรยายหรือสถิติเชิงพรรณนา: เป็นสถิติที่ใช้อธิบายคุณลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งที่ต้องการ ศึกษา จำแนกเป็น 3 ประเภท : 1. การแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution) : 2. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measure of Central Tendency) : 2.1 มัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) 2.2 มัธยฐาน (Median) 2.3 ฐานนิยม (Mode) 2.4มัชฌิมเรขาคณิต (Geometric Mean) 2.5 มัชฌิมฮาร์โมนิค(Harmonic Mean)

  13. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติเชิงบรรยายหรือสถิติเชิงพรรณนา: เป็นสถิติที่ใช้อธิบายคุณลักษณะต่างๆ ของสิ่งที่ต้องการศึกษา จำแนกเป็น 3 ประเภท : 3. การวัดการกระจายของข้อมูล (Measure of Variability) : 3.1 พิสัย (Range) 3.2 พิสัยระหว่างควอไทล์(Interquartile Range) 3.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Devia.) 3.4 ความแปรปรวน (Variance)

  14. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล การแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution): 20 27 75 67 32 56 70 80 12 43 14 54 71 28 46 55 32 34 90 11 15 65 78 93 20 49 18 37 49 60 25 61 29 31 40 51 45 71 29 81 39 43 58 96 74 53 27 75 48 94 55 61 42 43 Raw Data ค่ากลาง 0 – 10 : ///// //// 11 – 20 :///// /// 21 – 30 : ///// ///// ///// /// 31 – 40 : ///// ///// //// Tally Frequency Distribution

  15. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล การแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution): เพื่อจัดระเบียบข้อมูลใหม่ โดยหาความถี่ที่ข้อมูลซ้ำ ๆ กันจำแนกเป็น : 1. แบบเรียงคะแนนแต่ละจำนวน :โดยการเรียงคะแนนจากน้อย-มาก หรือมาก-น้อย โดยการ ทำรอยขีด (Tally) แล้วแจกแจงความถี่ วิธีนี้เหมาะสำหรับคะแนนสูง-ต่ำ ที่ไม่ห่างกันมาก 2. แบบเรียงคะแนนเป็นกลุ่ม :เหมาะสำหรับคะแนนสูง-ต่ำที่ห่างกันมาก โดยต้องหา พิสัย (Range) ก่อน หลังจากนั้นจึงหาความกว้างแต่ ละชั้น (Interval) แล้วจึงแจกแจงความถี่

  16. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล 1. แบบเรียงคะแนนแต่ละจำนวน 58 33 33 30 29 26 29 41 40 32 59 22 32 52 46 35 25 28 33 23 20 25 42 34 29 43 41 31 30 36

  17. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล 1 2 Tally 3 17

  18. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล 2. แบบเรียงคะแนนเป็นกลุ่ม 58 33 33 30 29 26 29 41 40 32 59 22 32 52 46 35 25 28 33 23 20 25 42 34 29 43 41 31 30 36 18

  19. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Mes. of Cent. Tend.): 20 27 75 67 32 56 70 80 12 43 14 54 71 28 46 55 32 34 90 11 15 65 78 93 20 49 18 37 49 60 25 61 29 31 40 51 45 71 29 81 39 43 58 96 74 53 27 75 48 94 55 61 42 43 Raw Data Measure of Central Tendency ค่ากลาง ที่เป็นตัวแทนของข้อมูลประเภทต่อเนื่อง (Continuous Data)

  20. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล มัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean): ค่าเฉลี่ย (Mean) มาจากผลรวมของข้อมูลที่ได้จากการวัดหารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด เช่น ค่าเฉลี่ยรายได้ ค่า เฉลี่ยผลคะแนน ค่าเฉลี่ยของน้ำหนัก สัญลักษณ์ : X, M, µ สูตรที่ใช้ :

  21. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล สูตรสำหรับหาค่าเฉลี่ยที่มีการ แจกแจงความถี่เป็นขนาด อันตรภาคชั้น : 429 17.16 429

  22. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล Trimmed Mean 1 2 3

  23. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล มัธยฐาน (Median): เป็นค่าที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูล ที่แบ่งครึ่งข้อมูลออกเป็น สองส่วนเท่า ๆ กันเมื่อเรียงลำดับข้อมูลแล้ว คี่ :3 8 12 20 25 30 32 คู่ : 3 8 12 20 25 30 32 34 40 42 สัญลักษณ์ : Mdn สูตรที่ใช้ : 20 25+30/2 = 27.5

  24. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล Median

  25. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ฐานนิยม (Mode): เป็นคะแนนที่มีความถี่สูงที่สุด เพื่อหาว่ามีค่าใดบ้าง ที่มี โอกาสมากกว่าค่าอื่น ๆโดยพิจารณาจากความถี่ สัญลักษณ์ : Mo สูตรที่ใช้ :

  26. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวอย่าง Mode

  27. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล มัชฌิมเรขาคณิต (Geometric Mean): เป็นรากที่ N ของผลคูณของข้อมูลทุกตัวที่อยู่ในชุด หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ตัวกลางเรขาคณิต สัญลักษณ์ : GM, G, G.M. สูตรที่ใช้ :

  28. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล มัชฌิมฮาร์โมนิค(Harmonic Mean): ใช้ในการคำนวณกลุ่มตัวอย่างโดยเฉลี่ยในกรณีที่ กลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มมีจำนวนไม่เท่ากัน เรียกอีก อย่างหนึ่งว่า ตัวกลางฮาร์โมนิค สัญลักษณ์ : HM, H, H.M. สูตรที่ใช้ :

  29. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล การวัดการกระจายของข้อมูล (Measure of Variability): B A B+ D B+ E A G Group B Group A

  30. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล พิสัย (Range): เป็นผลต่างระหว่างคะแนนสูงสุดกับคะแนนต่ำสุด จัดว่า เป็นมาตราการวัดที่ตรงและง่ายที่สุด สัญลักษณ์ : R สูตรที่ใช้ :

  31. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล คุณสมบัติของพิสัย : พิสัยเป็นมาตราการวัดที่คำนวณง่าย แต่ไม่ละเอียด คำนวณจากข้อมูลเพียง 2 ตัว คือค่าสูงสุดและค่าต่ำ สุด ดังนั้นข้อมูลของสมาชิกจึงไม่เกี่ยวข้อง ในการแจกแจงแบบปกติและการแจกแจงแบบอื่น ๆ พิสัย จะขึ้นอยู่กับขนาดของกลุ่มตัวอย่าง (N) ถ้า N มีขนาด ใหญ่ พิสัยจะสูง ถ้า N น้อย พิสัยจะต่ำ 1. 2. 20 30 90 75 120 80 55 120 11 14 21 17 20 15 ชุดA : ชุดB : 3.

  32. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล Q4 Q3 Q2 Q1 พิสัยระหว่างควอไทล์ (Interquartile Range): เป็นการคำนวณหาพิสัยของข้อมูลที่อยู่ในช่วงควอไทล์ที่ 3 กับควอไทล์ที่ 1 สัญลักษณ์ : IR สูตรที่ใช้ : IR

  33. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวอย่าง

  34. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation): เป็นสถิติที่ใช้อธิบายความแตกต่างของตัวแปรที่ศึกษาถ้า SD มีค่าสูง แสดงว่ากลุ่มตัวอย่างมีความแตกต่างกันมาก ถ้า SD มีค่าต่ำ แสดงว่ามีความแตกต่างกันน้อย SD จึง เป็นค่าที่ใช้ มากในการวิจัย ปกติจะใช้คู่กับค่าเฉลี่ย สัญลักษณ์ : SD, S.D., S, sd,  สูตรที่ใช้ :

  35. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล

  36. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวอย่าง

  37. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล การนำส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานไปใช้ในการวิจัย : ใช้ร่วมกับมัชฌิมเลขคณิตในการบ่งชี้ผลสรุปของ การวิจัย โดยที่ : X ชี้ระดับของการประเมิน (มาก-น้อย) SD ชี้การกระจายของข้อมูล (กระจาย-เกาะกลุ่ม)

  38. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล

  39. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ความแปรปรวน (Variance) : เป็นมาตราการวัดการกระจายในรูปของพื้นที่เกิดจากส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานยกกำลังสอง จึงสัมพันธ์กับ SD โดย เป็นการศึกษาเฉพาะขนาดหรือค่าบวกเท่านั้น ซึ่งการศึกษาเฉพาะค่าบวก ทำได้โดยการใส่ค่าสมบูรณ์หรือยกกำลังสอง ซึ่งก็คือค่าความแปรปรวน (Variance) สัญลักษณ์ : SD2, S.D.2, S2, sd2, 2

  40. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล

  41. สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวอย่าง

More Related