100 likes | 303 Views
แนวทางการพัฒนาการประกันสุขภาพในยุคปัจจุบัน. โดย... ผู้อำนวยการฝ่ายกฎหมายด้านพฤติกรรม ทางการตลาด(นาย อดิศร พิพัฒน์วรพงศ์). การประกันภัยที่คุ้มครองตัวบุคคล ( Personal Insurance). การประกันชีวิต (Life Insurance) – ความทรงชีพ/มรณะ
E N D
แนวทางการพัฒนาการประกันสุขภาพในยุคปัจจุบันแนวทางการพัฒนาการประกันสุขภาพในยุคปัจจุบัน โดย... ผู้อำนวยการฝ่ายกฎหมายด้านพฤติกรรมทางการตลาด(นายอดิศร พิพัฒน์วรพงศ์)
การประกันภัยที่คุ้มครองตัวบุคคล (Personal Insurance) • การประกันชีวิต (Life Insurance) – ความทรงชีพ/มรณะ • การประกันอุบัติเหตุ (Personal Accident Insurance) – ค่ารักษาพยาบาลจากอุบัติเหตุ ทั้งผู้ป่วยนอกและใน • การประกันสุขภาพ (Health Insurance) –ค่ารักษาพยาบาล จากการเจ็บป่วยทุกชนิด • ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน (IPD-Inpatient Department) • ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก (OPD-Outpatient Department)
วิวัฒนาการของความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาล ผู้ป่วยในกรณีไม่ต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล (Day Case) * วิวัฒนาการทางการแพทย์ * แผลเล็ก เจ็บน้อย ใช้เวลาไม่นานไม่ต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล ดีไหม??? * (IPD ไม่คุ้มครอง) --> เอกสารแนบท้าย (Day Case) ให้ความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาล 21 ประเภท
จ่ายค่ารักษาพยาบาลเสมือนว่าเป็นผู้ป่วยใน • การสลายนิ่ว (ESWL : Extracorporeal Shock Wave Liththotripsy) • การตรวจเส้นเลือดหัวใจโดยการฉีดสี (Coronary Angiogram / Cardiac Catheterization) • การผ่าตัดต้อกระจก (Extra Capsular Cataract Extraction with Intra Ocular Lens) • การผ่าตัดโดยการส่องกล้อง (Laparoscopic) ทุกชนิด • การตรวจโดยการส่องกล้อง (Endoscope) ทุกชนิด • การผ่าตัด หรือเจาะไซนัส (Sinus Operations) • การรักษาริดสีดวงทวารโดยการฉีดยาหรือผูก (Injection or Rubber Band Ligation) • การตัดก้อนเนื้อที่เต้านม (Excision Breast Mass) • การตัดชิ้นเนื้อจากกระดูก (Bone Biopsy) • การตัดชิ้นเนื้อเพื่อการวินิจฉัยจากอวัยวะใด ๆ (Tissue Biopsy)
จ่ายค่ารักษาพยาบาลเสมือนว่าเป็นผู้ป่วยใน การตัด (Amputation) นิ้วมือหรือนิ้วเท้า การจัดกระดูกให้เข้าที่ (Manual Reduction) การเจาะตับ (Liver Puncture/Liver Aspiration) การเจาะไขกระดูก (Bone Marrow Asipiration) การเจาะช่องเยื่อหุ้มไขสันหลัง (Lumbar Puncture) การเจาะช่องเยื่อหุ้มปอด (Thoracentesis/Pleuracentesis/Thoraclc Aspiration/Thoracic Paracentesis) การเจาะช่องเยื่อบุช่องท้อง (Abdominal Paracentesis/Abdominal Tapping) การขูดมดลูก (Curettage, Dilatation & Curettage, Fractional Curettage) การตัดชิ้นเนื้อจากปากมดลูก (Colposcope, Loop diathermy) การรักษา Bartholin’s Cyst (Marsupialization of Bartholin’s Cyst) การรักษาโรคด้วยรังสีแกมม่า (Gamma knife)
วิวัฒนาการของความคุ้มครองค่าชดเชยรายวัน ผู้ป่วยในกรณีไม่ต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล (Day Case) * ประวัติข้อมูลทางการแพทย์ของผู้เข้ารับการรักษาพยาบาล 21 ประเภท * ความคุ้มครองค่าชดเชยรายวัน กรณีพักรักษาตัวในโรงพยาบาล (เดิม ไม่คุ้มครอง) * (Day Case) จ่ายค่าชดเชย ให้ 1 วัน สำหรับการรักษาพยาบาล 18 ประเภท
จ่ายค่าชดเชยรายวันเสมือนว่าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล การสลายนิ่ว(ESWL : Extracorporeal Shock WaveLiththotripsy) การตรวจเส้นเลือดหัวใจโดยการฉีดสี (Coronary Angiogram / Cardiac Catheterization) การผ่าตัดต้อกระจก (Extra Capsular Cataract Extraction with Intra Ocular Lens) การผ่าตัดโดยการส่องกล้อง (Laparoscopic)ทุกชนิด การตรวจโดยการส่องกล้อง (Endoscope)ทุกชนิด การผ่าตัด หรือเจาะไซนัส (Sinus Operations) การตัดก้อนเนื้อที่เต้านม(Excision Breast Mass) การตัดชิ้นเนื้อจากกระดูก(Bone Biopsy) การตัด (Amputation)นิ้วมือหรือนิ้วเท้า
จ่ายค่าชดเชยรายวันเสมือนว่าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล การเจาะตับ(Liver Puncture/Liver Aspiration). การเจาะไขกระดูก(Bone Marrow Asipiration) การเจาะช่องเยื่อหุ้มไขสันหลัง(Lumbar Puncture) การเจาะช่องเยื่อหุ้มปอด (Thoracentesis/Pleuracentesis/Thoraclc Aspiration/ThoracicParacentesis) การเจาะช่องเยื่อบุช่องท้อง (AbdominalParacentesis/Abdominal Tapping) การขูดมดลูก (Curettage, Dilatation & Curettage, Fractional Curettage) การตัดชิ้นเนื้อจากปากมดลูก (Colposcope, Loop diathermy) การรักษา Bartholin’s Cyst (Marsupialization ofBartholin’s Cyst) การรักษาโรคด้วยรังสีแกมม่า(Gamma knife)
คำสั่งนายทะเบียน กรณี Day Case • มีผลย้อนหลังใช้กับกรมธรรม์ประกันภัยและสัญญาเพิ่มเติมที่ออกก่อนวันที่คำสั่งนายทะเบียนมีผลบังคับใช้ด้วย • จะให้ความคุ้มครองเฉพาะกรณีที่ผู้เอาประกันภัยเข้ารักษาพยาบาลหลังจากวันที่คำสั่งฯ มีผลบังคับใช้แล้วเท่านั้น