170 likes | 737 Views
อัตราแลกเปลี่ยน ( Exchange Rate). 1.นิยามของอัตราแลกเปลี่ยน 2. Spot and Forward Rate 3.การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพ. อัตราแลกเปลี่ยน. สินค้า. ผู้ส่งออก (THAI). ผู้นำเข้า (USA). ตลาดเงินตราต่างประเทศ FX market. บาท. $. นิยามของอัตราแลกเปลี่ยน.
E N D
อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate) 1.นิยามของอัตราแลกเปลี่ยน 2.Spot and Forward Rate 3.การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพ
อัตราแลกเปลี่ยน สินค้า ผู้ส่งออก (THAI) ผู้นำเข้า (USA) ตลาดเงินตราต่างประเทศ FX market บาท $
นิยามของอัตราแลกเปลี่ยนนิยามของอัตราแลกเปลี่ยน • คือ ค่าของเงินสกุลหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกันเงินสกุลอื่นๆ รูปแบบการแสดงค่าของอัตราแลกเปลี่ยน 1. การแสดงค่าในรูปของจำนวนเงินบาทต่อหนึ่งดอลลาห์ (หน่วยเงินสกุลภายในประเทศต่อหน่วยของเงินสกุลต่างประเทศ) เช่น 30 ฿/$ 2. การแสดงค่าในรูปจำนวนเงินดอลลาห์ต่อหนึ่ง บาท (หน่วยเงินสกุลต่างประเทศต่อหน่วยของเงินสกุลภายในประเทศ) เช่น .033 $/฿ ค่าเงินบาทแข็งขึ้น (.033 $/฿ 0.040 $/฿ หรือ30 ฿/$ 25฿/$) ค่าของเงินบาทสูงขึ้นเมื่อเทียบกับเงินตราต่างประเทศ เราใช้เงินบาทน้อยลงเพื่อซื้อเงินสกุลดอลลาร์หนึ่งหน่วย
Spot and Forward Rate • อัตราแลกเปลี่ยนทันที (Spot Rate) อัตราแลกเปลี่ยนของเงินสกุลต่างๆที่ทำการส่งมอบทันที่ • อัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Rate) อัตราแลกเปลี่ยนที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงกันในปัจจุบัน แต่การส่งมอบเงินตราที่เกี่ยวข้องจะเกิดขึ้นจริงในอนาคต เช่น 1,3,6 เดือน Swap premium = ความแตกต่างระหว่างราคาล่วงหน้าและราคาทันที (ForwardRate –SpotRate) Forward Rate-Spot Rate>0 Forward Premium Forward Rate-Spot Rate <0 Forward Discount
การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพ • อุปสงค์ต่อเงินบาท • ความต้องการในสินค้าและบริการของประเทศไทยจากต่างประเทศ การลงทุน และการบริจาคช่วยเหลือระหว่างประเทศ • Law of Demand ปริมาณของเงินตราต่างประเทศสกุลใดสกุลหนึ่งที่มีผู้ต้องการซื้อย่อมแปรผันเป็นปฏิภาคส่วนกลับกับอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศสกุลนั้นเสมอ • เมื่ออัตราแลกเปลี่ยนแข็งค่าขึ้น ทำให้ราคาสินค้าส่งออกในรูปของเงิน $แพงขึ้น ปริมาณความต้องการสินค้าส่งออกจากไทยน้องลง ปริมาณความต้องการเงินบาทก็จะน้องลง
การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพ • อุปสงค์ต่อบาท อัตราแลกเปลี่ยน ($/฿) 0.036 $/฿ 0.034 $/฿ 0.032 $/฿ ปริมาณเงิน ฿
การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพ • อุปทานของเงินบาท • ความต้องการซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศโดยคนไทย การลงทุน และการบริจากช่วยเหลือระหว่างประเทศ • เมื่ออัตราแลกเปลี่ยนแข็งค่าขึ้น ราคาสินค้านำเข้าในรูปของเงินบาทจะถูกลง คนไทยมีความต้องการสินค้าจากต่างประเทศมากขึ้น อุปทานของเงินบาทในตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้น
การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพ • อุปทานของเงินบาท อัตราแลกเปลี่ยน ($/฿) 0.036 $/฿ 0.034 $/฿ 0.032 $/฿ ปริมาณเงิน ฿
การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราดุลยภาพ • อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพ • อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพในขณะใดขณะหนึ่งจะกำหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของเงินบาท อัตราแลกเปลี่ยน ($/฿) 0.036 $/฿ 0.034 $/฿ 0.032 $/฿ ปริมาณเงิน ฿
อัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่และลอยตัวอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่และลอยตัว • อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว(เสรี) • ตลาดเป็นตัวกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งขึ้นอยู่กับอุปสงค์และอุปทานของเงินตราสกุลนั้นๆ • ไม่มีการแทรกแซงอัตราแลกเปลี่ยน อัตราแลกเปลี่ยน ($/฿) ปริมาณเงิน ฿
อัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่และลอยตัวอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่และลอยตัว • อัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ • รัฐบาลหรือเจ้าหน้าที่เข้าแทรกแซงอัตราแลกเปลี่ยนให้คงที่ อัตราแลกเปลี่ยน ($/฿) ปริมาณเงิน ฿