370 likes | 623 Views
หลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นขอจดทะเบียนและแก้ไข ข้อบังคับกองทุนและงานปฏิบัติการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ. โดย นางสาวสุนันทา ประกอบกิจ หัวหน้าส่วน ฝ่ายกำกับธุรกิจจัดการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต . วันที่ 6 พฤศจิกายน 2546. หัวข้อการบรรยาย. การจดทะเบียนและการแจ้งตามที่กฎหมายกำหนด
E N D
หลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นขอจดทะเบียนและแก้ไข ข้อบังคับกองทุนและงานปฏิบัติการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โดย นางสาวสุนันทา ประกอบกิจ หัวหน้าส่วน ฝ่ายกำกับธุรกิจจัดการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. วันที่ 6 พฤศจิกายน 2546
หัวข้อการบรรยาย • การจดทะเบียนและการแจ้งตามที่กฎหมายกำหนด • การจดทะเบียนและแก้ไขข้อบังคับกองทุนผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Provident Fund Online Procedure : POP) • งานปฏิบัติการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Fund Administration)
I.การจดทะเบียนและ การแจ้งตามที่กฎหมายกำหนด 3
การจดทะเบียนและการแจ้งตามที่กฎหมายกำหนดการจดทะเบียนและการแจ้งตามที่กฎหมายกำหนด • การจดทะเบียน 1.1แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับกองทุน 1.2 การเปลี่ยนแปลงกรรมการ 1.3การเปลี่ยนบริษัทจัดการ • การแจ้งให้นายทะเบียนทราบ 2.1นายจ้างเลิกกิจการหรือถอนตัวจากกองทุน pooled fund 2.2กองทุนเลิก
1.1การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับกองทุน1.1การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับกองทุน ให้คณะกรรมการกองทุนนำไปจดทะเบียนภายใน 15 วันนับแต่วันที่มีมติให้แก้ไข และไม่มีผลใช้บังคับจนกว่านายทะเบียนจะได้รับจดทะเบียนแล้ว
1.2การเปลี่ยนแปลงกรรมการ1.2การเปลี่ยนแปลงกรรมการ • นำไปจดทะเบียนภายใน 14 วันนับแต่วันที่เปลี่ยนกรรมการ • เปลี่ยนกรรมการที่ไม่ต้องแก้ไขข้อบังคับ • การกรอกแบบฟอร์มลายมือชื่อและเงื่อนไขการลงนามของคณะกรรมการกองทุน
แบบฟอร์มลายมือชื่อและเงื่อนไขการลงนามของคณะกรรมการกองทุน (single fund) เกษียณสบาย 111/2546 นายดี ดีใจ 6 พ.ย. 2546 5 พ.ย. 2548 นายสุข สุขใจ
แบบฟอร์มลายมือชื่อและเงื่อนไขการลงนามของคณะกรรมการกองทุน (ต่อ) นายสำราญ รื่นเริง 6 พ.ย. 2546 5 พ.ย. 2548 นางสดใส สบายใจ กรรมการกองทุนฝ่ายนายจ้าง จำนวน 1 ท่าน และกรรมการฝ่ายลูกจ้างจำนวน 1 ท่าน ลงลายมือชื่อร่วมกันโดยมีผลผูกพัน กองทุนตามกฎหมาย 2 ปี
แบบฟอร์มลายมือชื่อและเงื่อนไขการลงนามของคณะกรรมการกองทุน(pooled fund) เกษียณสบาย 111/2546 บริษัท รักลูกจ้าง จำกัด นายใจเย็น เย็นใจ 6 พ.ย. 2546 5 พ.ย. 2548 นางบาน เย็น
นายมารวย กระปุก 6 พ.ย. 2546 5 พ.ย. 2548 นายไปดี มาดี กรรมการกองทุนฝ่ายนายจ้าง จำนวน 1 ท่าน และกรรมการฝ่ายลูกจ้างจำนวน 1 ท่าน ลงลายมือชื่อร่วมกันโดยมีผลผูกพัน กองทุนตามกฎหมาย 2 ปี แบบฟอร์มลายมือชื่อและเงื่อนไขการลงนามของคณะกรรมการกองทุน (ต่อ)
ข้อสังเกต • เปลี่ยนกรรมการที่ต้องแก้ไขข้อบังคับกองทุน (รายชื่อ/จำนวน) • การเปลี่ยนชื่อ นามสกุลกรรมการ โดยไม่นำมาจดทะเบียน • กรรมการครบวาระและได้รับการแต่งตั้ง/เลือกตั้งให้เป็นกรรมการอีก แต่ไม่ได้นำมาจดทะเบียน • จดทะเบียนเปลี่ยนกรรมการล่าช้า
1.3การเปลี่ยนบริษัทจัดการ1.3การเปลี่ยนบริษัทจัดการ • นำไปจดทะเบียนภายใน 14 วันนับแต่วันที่แต่งตั้งบริษัทจัดการรายใหม่ • ข้อสังเกต • กองทุนเปลี่ยนบริษัทจัดการแต่ไม่จดทะเบียนเปลี่ยนบริษัทจัดการต่อนายทะเบียน
2. การแจ้งให้นายทะเบียนทราบ • นายจ้างเลิกกิจการหรือถอนตัวจากกองทุน pooled fund • กรรมการกองทุนแจ้งนายทะเบียนภายใน 7 วันนับแต่วันที่เลิกกิจการหรือถอนตัว • ชำระบัญชีเฉพาะส่วนนายจ้าง • ชำระบัญชีแล้วให้แจ้งภายใน 7 วันนับแต่วันเสร็จสิ้นการชำระบัญชี
2. การแจ้งให้นายทะเบียนทราบ (ต่อ) • กองทุนเลิก • นายจ้างเลิกกิจการ (1) • ที่ประชุมใหญ่มีมติให้เลิก (2) • ข้อบังคับกองทุนกำหนดให้เลิก (3) • นายทะเบียนสั่งให้เลิกกองทุน (4)
2. การแจ้งให้นายทะเบียนทราบ (ต่อ) • กองทุนเลิกตาม (1), (2), (3) • กรรมการกองทุนแจ้งภายใน 7 วันนับแต่วันที่กองทุนเลิก
ข้อสังเกต • แจ้งถอนตัวนายจ้าง แต่ไม่จดทะเบียนแก้ไขข้อบังคับภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด • ไม่มีสมาชิกในกองทุน แต่ข้อบังคับไม่ได้กำหนดให้เลิกกองทุน • ให้กรรมการกองทุนมีอำนาจแต่งตั้งผู้ชำระบัญชี • การชำระบัญชีกรณีนายจ้างบางรายถอนตัว ไม่ต้องนำ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยการชำระบัญชีมาใช้ • กรรมการกองทุนหรือผู้ชำระบัญชีแจ้งนายทะเบียนเมื่อชำระบัญชีเสร็จสิ้นแล้ว
II. การจดทะเบียนและแก้ไขข้อบังคับกองทุนผ่าน POP 17
วัตถุประสงค์ในการปรับปรุงระบบวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงระบบ • ความรวดเร็ว • มีประสิทธิภาพ • เป็นระบบ • ทันสมัย
การปรับปรุงระบบการรับจดทะเบียนการปรับปรุงระบบการรับจดทะเบียน และแก้ไขข้อบังคับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 1. คำขอจดทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ2.เอกสารประกอบคำขอ 3. การจดทะเบียนและแก้ไขข้อบังคับกองทุน ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
คำขอจดทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพคำขอจดทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • แบ่งเป็น 2 ส่วน • ชีวิตปัจจุบัน • ข้อมูลกองทุน • ข้อมูลนายจ้าง รวม 9 หน้า • ชีวิตใหม่ • ข้อมูลกองทุน • ข้อมูลนายจ้าง รวม 1 หน้า
สรุป เอกสารประกอบคำขอที่ไม่ต้องใช้ • สาระสำคัญของข้อบังคับ • 2. รายงานการประชุม (เฉพาะกรณีไม่กระทบสิทธิสมาชิก)
กำหนดเวลา POP 3 - 11 พฤศจิกายน 2546 บริษัทจัดการ test ระบบ ส่ง comment ภายใน 11 พฤศจิกายน 2546 Parallel run 1 - 31 ธันวาคม 2546 ระยะเวลาเริ่มดำเนินการ 1 มกราคม 2547
การจดทะเบียนและแก้ไขข้อบังคับปัจจุบันการจดทะเบียนและแก้ไขข้อบังคับปัจจุบัน เจ้าหน้าที่พิจารณาความถูกต้อง ครบถ้วนของแบบ 9-2 + เอกสารประกอบคำขอ Fax แจ้งผล หนังสือ แจ้งผล ผู้มีอำนาจลงนามพิจารณาความถูกต้อง ครบถ้วนของแบบ 9-2 + เอกสารประกอบคำขอ N Y FC/บริษัทจัดการยื่นแบบ 9-2 + เอกสารประกอบคำขอ สำนักงาน
การจดทะเบียนและแก้ไขข้อบังคับผ่านPOPการจดทะเบียนและแก้ไขข้อบังคับผ่านPOP บริษัทจัดการยื่นแบบคำขอ +เอกสารประกอบคำขอ สำนักงาน N ผู้มีอำนาจลงนามพิจารณาความถูกต้อง ครบถ้วนของแบบ คำขอ สำนักงานตอบ accept เบื้องต้น บริษัทจัดการ print ข้อมูลจาก internet ที่สำนักงาน accept ส่งให้ FC หนังสือ แจ้งผล จัดส่ง hard copy คำขอ เอกสารประกอบคำขอที่ FC ลงนามแล้ว E-mail แจ้งผล สำนักงาน
ลายมือชื่อผู้มีอำนาจลงนามของบริษัทจัดการ/ คณะกรรมการกองทุน
การแก้ไขข้อบังคับกรณีสมาชิกเสียประโยชน์การแก้ไขข้อบังคับกรณีสมาชิกเสียประโยชน์ • เพิ่ม รายงานการประชุมใหญ่สมาชิก (กรณีข้อบังคับไม่ได้กำหนดให้เป็นอำนาจกรรมการ) • คำนิยาม “ค่าจ้าง” “อายุงาน” “อายุสมาชิก” • เงื่อนไขการเข้าเป็นสมาชิกกองทุน • เงื่อนไขการสิ้นสมาชิกภาพ • อัตราเงินสะสม และอัตราเงินสมทบ • การจ่ายเงินให้แก่สมาชิกกรณีที่สมาชิกสิ้นสมาชิกภาพ (vesting) • เงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบในส่วนที่ไม่ได้จ่ายให้แก่สมาชิก (unvest) • การสิ้นสมาชิกภาพของสมาชิก และสมาชิกหรือผู้รับประโยชน์ไม่มารับเงิน • ค่าใช้จ่ายที่จ่ายออกจากกองทุน • เงื่อนไขการโอนย้ายกองทุน • เงื่อนไขการเลิกกองทุน
วันมีผลบังคับใช้ Tp Tp+ 1 วันทำการTd Td + 10 วันทำการ 3.1 กรณีจัดตั้งกองทุน หนังสือออก สนง.รับเอกสารครบถ้วน/ถูกต้อง ยื่น POP แจ้ง Accept
3. วันมีผลบังคับใช้ Tp Tp + 3 วันทำการ Td Td + 2 วันทำการ 3.2 กรณีแก้ไขข้อบังคับ+กรณีอื่นๆ หนังสือออก e-mail สนง.รับเอกสารครบถ้วน/ถูกต้อง ยื่น POP แจ้ง Accept
3. วันมีผลบังคับใช้ Tp Tp+ 1 วันทำการ Td Td + 2 วันทำการ 3.3 กรณีเลิกกองทุน หนังสือออก e-mail สนง.รับเอกสารครบถ้วน/ถูกต้อง ยื่น POP แจ้ง Accept
III. งานปฏิบัติการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ(Fund Administration)
Provident Fund Administration ประกอบด้วย • งานรับและจ่ายเงินกองทุน • งานทะเบียนสมาชิกกองทุน • งานบัญชีกองทุน
Administrator • บริษัทจัดการ (บริษัทที่ได้รับ License PF) • ต้องมีระบบงานตามที่สำนักงานกำหนด • นิติบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากบริษัทจัดการ • สามารถมอบหมายทุกงานหรืองานใดงานหนึ่งได้ • บริษัทจัดการต้องตรวจสอบและประเมินว่าบุคคลที่ได้รับมอบหมายงานนั้นแล้วมีระบบงานขั้นต่ำตามที่สำนักงานกำหนด
วิสัยทัศน์ของสำนักงานที่มีต่องานทะเบียนสมาชิกวิสัยทัศน์ของสำนักงานที่มีต่องานทะเบียนสมาชิก • หลักความถูกต้องครบถ้วน: เงินที่นายจ้างส่งเข้ากองทุนมีความถูกต้องครบถ้วน • หลักความโปร่งใส: มีการcheck&balance • หลักการตรวจสอบได้: มีระบบและกลไกเพื่อช่วยให้สมาชิกปกป้องตัวเองได้ • หลักความรวดเร็วทันเวลา: การจ่ายเงินให้สมาชิกเมื่อสิ้นสมาชิกภาพ รวดเร็วทันเวลาที่กฎหมายกำหนด สร้างความเชื่อมั่นต่อระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
ปัญหา - คำถาม - ข้อสงสัย โปรดติดต่อ สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ฝ่ายกำกับธุรกิจจัดการลงทุน โทร. 252-3223 ต่อ 2759 www.thaipvd.com