410 likes | 611 Views
ความยากจนและ การกระจายรายได้ ภาค 1. เอกสารอ้างอิง. สมชัย จิตสุชน จิราภรณ์ แผลงประพันธ์ และ Prof. Nanak Kakwani , การปรับปรุงเส้นความยากจนทางการ , พฤศจิกายน 2547 สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, การกระจายรายได้ ความยากจน : ปัญหาและแนวทางแก้ไข, กันยายน 2546. เอกสารอ้างอิง.
E N D
เอกสารอ้างอิง • สมชัย จิตสุชน จิราภรณ์ แผลงประพันธ์ และ Prof.Nanak Kakwani, การปรับปรุงเส้นความยากจนทางการ, พฤศจิกายน 2547 • สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, การกระจายรายได้ ความยากจน: ปัญหาและแนวทางแก้ไข, กันยายน 2546
เอกสารอ้างอิง • สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สถานการณ์ความยากจนและกรอบแนวทางแก้ปัญหาความยากจน, กรกฎาคม 2544
เค้าโครงการบรรยาย A . ความยากจน B. การกระจายรายได้ C. นโยบายเกี่ยวกับความยากจนและการกระจายรายได้
ความยากจน • “ความยากจน” การครองชีพอยู่ต่ำกว่า ”มาตรฐาน” ระดับหนึ่ง • ยากจนแบบสัมบูรณ์ (Absolute poverty) : รายได้ต่ำกว่ามาตรฐานระดับต่ำ “พอประทังชีพ” (bare subsistence) เส้นความยากจน (“poverty line”)
ความยากจน • “ความยากจน” การครองชีพอยู่ต่ำกว่ามาตรฐานระดับหนึ่ง • ความยากจนแบบสัมพัทธ์ (Relative poverty) : รายได้ต่ำกว่ามาตรฐานเฉลี่ยของสังคม/กลุ่มชน
ปัญหาการวัดความยากจน:ปัญหาการวัดความยากจน: • ใช้ตัวแปรใด? รายได้ รายจ่าย การศึกษา • หน่วย “คน” ? : บุคคล ครอบครัว ครัวเรือน • ตัวชี้วัดของ “ยากจน”
เส้นความยากจน • รายได้ต่ำที่สุดสำหรับการประทังชีพ • ปัจจัยสี่: อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค (+ บริการแพทย์) อื่นๆ (เช่น การเดินทาง การศึกษา การพักผ่อนหย่อนใจ)
การคำนวณเส้นความยากจนการคำนวณเส้นความยากจน 10 • คำนวณค่าใช้จ่ายสำหรับอาหาร • ความต้องการด้านโภชนาการ: องค์ประกอบด้านประชากรของแต่ละครัวเรือน • คำนวณค่าใช้จ่ายสำหรับอาหารตามต้องการ แยกตามพื้นที่/ภาค
การคำนวณเส้นความยากจนการคำนวณเส้นความยากจน คำนวณค่าใช้จ่ายสำหรับรายการที่ไม่ใช่อาหาร เช่น ที่อยู่ เสื้อผ้า รักษาพยาบาล น้ำ-ไฟ การเดินทาง
ปริมาณสารอาหารที่เหมาะสมสำหรับคนไทย, calorie/day ปี 2546
ความต้องการด้านโปรตีน: gram/day, ปี 2546
ค่าใช้จ่ายสำหรับแครอลี่และโปรตีนในปี 2545 แบ่งตามภาค
รายการที่ไม่ใช่อาหาร • เสื้อผ้า รองเท้า • ที่อยู่อาศัย • แสงสว่างและเชื้อเพลิง • รักษาพยาบาล
รายการที่ไม่ใช่อาหาร 16 • เดินทาง • สื่อสาร • การศึกษา
สัดส่วนคนจน (Poverty Incidence)ของประเทศไทย 1986 - 2004
สัดส่วนคนจน (Poverty Incidence)รายภาค 1986 - 2004
ขนาดครัวเรือนของคนจน 2547
ลักษณะสำคัญของคนจน 2547 • ระดับการศึกษาต่ำ: ไม่สามารถเรียนสูง ไม่สามารถหารายได้สูง • ครอบครัวขนาดใหญ่ ภาระสูง (เด็กและคนชรา + พิการ)
ลักษณะสำคัญของคนจน 2547 • คนจนส่วนใหญ่ (80% ของ 7 ล้านคน) อยู่ในชนบท/เกษตร และจำนวนมากเป็นเกษตรกรไร้ที่ดิน • ภาคอีสานมีสัดส่วนคนจนสูงที่สุดและ จำนวนคนจนมากที่สุด
ครัวเรือนยากจนที่มีหนี้ ปี 2545
การศึกษา “ยากจนดักดาน” ในปี 2542 • เลือกที่ยากจนที่สุดในหมู่บ้าน • สุ่มตัวอย่าง 350 ครัวเรือนในภาคเหนือ • อีสาน กลาง และใต้
การศึกษา “ยากจนดักดาน” ในปี 2542 • ลักษณะสำคัญทางเศรษฐกิจและสังคม: • ครอบครัวขนาดใหญ่ (3.7 – 5.1 คน) • อัตราการพึ่งพาสูง (54% - 78% เป็นเด็กและ • คนชรา)
การศึกษา “ยากจนดักดาน” ในปี 2542 • ลักษณะสำคัญทางเศรษฐกิจและสังคม: • หัวหน้าครัวเรือนมีการศึกษาน้อย • > 60% ไม่มีที่ดิน ยกเว้นภาคเหนือ (19%) • ส่วนใหญ่เป็นคนงานรับจ้าง บางคนเป็นเกษตรกร
การศึกษา “ยากจนดักดาน” ในปี 2542 • ลักษณะสำคัญทางเศรษฐกิจและสังคม: • มีหลายกรณีที่หญิงหม้ายเป็นหัวหน้าครัวเรือน • จำนวนวันทำงานต่ำ • 90% ไม่เคยได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาล
สาเหตุแห่งความยากจน • ปัญหาซับซ้อน เชิงโครงสร้าง และหลายมิติ • ปัจจัยทางสังคม: • ลักษณะครอบครัว: ขนาดใหญ่ สุขภาพอ่อนแอ มีเด็ก-คนชรา • การศึกษาต่ำ ขาดทักษะอาชีพ
สาเหตุแห่งความยากจน • ปัจจัยทางสังคม: • ขาดโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสาร • ทัศนคติและกระบวนการทางสังคมเป็นลบต่อคนจน • วัฒนธรรมการบริโภคที่เน้นค่านิยมด้านวัตถุ: ใช้จ่ายเกินตัวและการเป็นหนี้
สาเหตุแห่งความยากจน • ปัจจัยทางเศรษฐกิจ: • นโยบายเศรษฐกิจขาดความสมดุล: เน้นอุตสาหกรรม และไม่ดูแลเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ • โครงสร้างพื้นฐานและบริการสังคมไม่เท่าเทียมกัน
สาเหตุแห่งความยากจน • ปัจจัยทางเศรษฐกิจ: • ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ • ขาดโอกาสเข้าถึงแหล่งทุน
สาเหตุแห่งความยากจน • ปัจจัยด้านระบบบริหารจัดการของรัฐ: • กฎหมายและระเบียบเป็นอุปสรรคแก้ปัญหาความจน • การแก้ปัญหามีลักษณะแยกส่วน • ไม่ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง