290 likes | 491 Views
การบริหารงบบริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ( P&P ). ปีงบประมาณ 2553. หลักการแนวคิดการจัดการกองทุน P&P. เป็นการบริการ P&P รายบุคคลและครอบครัวแก่คนไทยทุกสิทธิ
E N D
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค(P&P)การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค(P&P) ปีงบประมาณ 2553
หลักการแนวคิดการจัดการกองทุน P&P • เป็นการบริการ P&P รายบุคคลและครอบครัวแก่คนไทยทุกสิทธิ • เพื่อเป็นค่าชดเชยบริการสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์และการดำเนินงานด้าน P&Pของหน่วยบริการ สถานพยาบาลในระบบประกันสังคมหรือหน่วยงานที่ดำเนินการจัดบริการ P&P • เพื่อดำเนินการจัดการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข (P&P) เฉพาะพื้นที่ หรือภาพรวมประเทศ • จ่ายตามผลงานและความครอบคลุมการให้บริการแก่หน่วยบริการเพื่อสร้างแรงจูงใจและเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การบริการ P&P • สปสช. สาขาจังหวัดและสปสช.เขต 13 เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการ บูรณาการให้เกิดการบริการ ภายใต้กรอบการจัดการและการกำกับติดตามประเมินผลด้านงบประมาณโดย คณะอนุฯหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัด (อปสจ.) และคณะอนุฯหลักประกันสุขภาพระดับเขตพื้นที่ (อปสข.) ตามลำดับ
สิ่งที่เปลี่ยนแปลงปี 53 ปรับโครงสร้างงบประมาณจาก 4 ส่วนเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. National Priority Program & Central Procurement 2. PPE แยกจัดสรรเป็น 2 ส่วน โดยนำงบฯ PPA และ PPC บางส่วนมาจัดสรรตามรายกิจกรรมที่กำหนด 2.1 จัดสรรตาม Capitationหักเงินเดือนและ diff. capitation by age group 2.2 จัดสรรตามผลการให้บริการรายItemized โดยพิจารณาจัดสรรตามกลุ่มเป้าหมายประชากร (Target oriented) และกิจกรรมที่กำหนด (Activities – based) 3. รวม PPA + PPC (กองทุนฯตำบล)เป็น PPA เพื่อจัดสรรในลักษณะGlobal budget ระดับเขต สปสช.
กรอบการบริหารงบ P&P ปีงบประมาณ2553 P&P Capitation (199.22 บาทต่อหัวปชก.ทุกสิทธิ 64.446 ล้านคน) คำนวณจาก 271.79 บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 47.2397 ล้านคน P&P Area based (รวม PP Community) (58.41) NPP &Central Procurement (15.17) P&P Expressed demand (125.64) Itemized 10 รายการ (31.79) Capitation (93.85) Area problem (18.41+ ส่วนที่เหลือจากกองทุนตำบล) กองทุน อปท. (40.00) • Diff. by age group • หักเงินเดือน หน่วยบริการ/ สถานพยาบาล/ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยบริการประจำ
P&P National Priority and Central Procurement งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่บริหารระดับประเทศ • Central Procurement จัดซื้อจัดจ้างรวม - ค่า Vaccine และระบบ VMI - นมสำหรับเด็กฟีนิลคีโตนยูเรีย(PKU) - สำหรับรายการการจัดพิมพ์สมุดบันทึกแม่ & เด็ก และสมุดบันทึก นักเรียนย้ายไปใช้จาก P&P area based 2) National Priority Program ต่อเนื่องจากปี 2552
P&P Expressed Demand งบ PP สำหรับบริการที่มีความต้องการใช้บริการเด่นชัด เป็นการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรครายบุคคลตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยหน่วยบริการ ซึ่งดำเนินการทั้งในและนอกหน่วยบริการ มีการจัดสรรเป็น 2 ส่วน 1. เหมาจ่ายรายหัว Capitation 2. ตามผลการให้บริการ Itemization
P&P Expressed Demand: เหมาจ่ายรายหัวCapitation • ครอบคลุมบริการชุดสิทธิประโยชน์ P&P ดังนี้ - การฝากครรภ์ - การตรวจหลังคลอด - การให้ภูมิคุ้มกันโรคในทุกช่วงอายุ - การดูแลสุขภาพและพัฒนาการตามวัยเด็ก - บริการวางแผนครอบครัว - การดูแลสุขภาพช่องปาก - บริการตรวจคัดกรองและการปรับพฤติกรรมสุขภาพทุกกลุ่มวัย - บริการให้สุขศึกษา ความรู้ คำแนะนำ - บริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันปัญหาด้านสุขภาพจิต - บริการอนามัยโรงเรียน - กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
P&P Expressed Demand:เหมาจ่ายรายหัว(Capitation) การจัดสรรและโอนเงิน (Differentiate by age gr. และหักเงินเดือนภาครัฐ) จัดสรรหน่วยบริการสังกัด สธ. จัดสรร 4 งวด งวดละร้อยละ 25 - งวดที่ 1 ภายใน ตุลาคม 2552 - งวดที่ 2 ภายใน มกราคม 2553 - งวดที่ 3 ภายใน เมษายน 2553 - งวดที่ 4 ภายใน กรกฎาคม 2553 จัดสรรหน่วยบริการรัฐนอกสังกัด สธ. และหน่วยบริการเอกชนได้รับ จัดสรรพร้อม OP/IP
P&P Expressed Demand: ตามผลการให้บริการ(Itemization) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดการเข้าถึงบริการ P&P ที่จำเป็นอย่างเท่าเทียม 2. เพื่อให้เกิดคุณภาพการบริการ P&P และการดูแลอย่างต่อเนื่อง 3. เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการจัดบริการ P&P เชิงรุกของหน่วยบริการปฐมภูมิ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายชดเชย 1. ต้องมีการบันทึกข้อมูลการให้บริการรายบุคคลครบถ้วนตามที่กำหนด 2. ต้องมีระบบการกำกับ ติดตาม ประเมินผล รวมทั้งการตรวจสอบการให้บริการ ( Clinical & Financial Audit )
P&P Expressed Demand: ตามผลการให้บริการ(Itemization)
P&P Expressed Demand: ตามผลการให้บริการ(Itemization)
การจัดการสำหรับการจ่ายตามผลการให้บริการ(Itemization)การจัดการสำหรับการจ่ายตามผลการให้บริการ(Itemization) ข้อมูลสำหรับจ่ายเงินใช้จากระบบข้อมูล Individual dataที่มีอยู่ ได้แก่ • OP/PP individual record (ข้อมูล 18 แฟ้ม, 12+8 แฟ้ม) • e-Claim • PPIS (ระบบการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง & ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) • Sealant Program (กองทันตฯ กรมอนามัย) • Cervical Screening Program (กรมการแพทย์) สำหรับ Pap smear & VIA • โปรแกรมสารสนเทศการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า ระดับจังหวัด(กรมสุขภาพจิต) • แบบรายงานที่กำหนดโดย สปสช.( TSH )
โปรแกรมที่ดูแลและพัฒนา โดยสำนัก IT(สปสช.)
ขั้นตอนการรับ-ส่งข้อมูลจากโปรแกรม e-Claim (สำหรับหน่วยบริการ/สถานพยาบาล) สปสช. สำนัก IT (2) ส่งกลับข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ไปยังหน่วยบริการ ผ่านweb หน่วยบริการ/ สถานพยาบาล • ส่งข้อมูล (2) ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ สำนักชดเชยฯ (ตรวจสอบตามเงื่อนไขการจ่าย) (3) แจ้งจัดสรร /ปฎิเสธการจ่าย สำนักบริหารกองทุน (4)โอนงบประมาณตามผลงานรายเดือนและ แจ้งการจัดสรร/ปฎิเสธการจ่าย ผ่าน web
ขั้นตอนการรับ-ส่งข้อมูลจาก โปรแกรม PPIS ข้อมูล 12+8 & 18 แฟ้ม สปสช. หน่วยบริการ/สถานพยาบาล (3) ส่งกลับข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ไปยังหน่วยบริการ ผ่านweb สำนัก IT • ส่งข้อมูล • PPIS,12+8แฟ้ม (1) ข้อมูล 18 แฟ้ม(สอ.) (6)โอนเงิน (3) ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ (2) ส่งข้อมูล 18 แฟ้ม(สอ) สสจ. สำนักชดเชยฯ (ตรวจสอบตามเงื่อนไขการจ่าย) (4) แจ้งจัดสรร/ปฎิเสธการจ่าย สำนักบริหารกองทุน (5)โอนงบประมาณตามผลงานเป็นรายไตรมาส และแจ้งการจัดสรร/ปฎิเสธการจ่าย ผ่าน web
การส่งกลับข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบเบื้องต้น (จากสำนัก IT)
โปรแกรมที่พัฒนา โดยกรมวิชาการ
ขั้นตอนการรับ-ส่งข้อมูลจากโปรแกรมที่ดูแลโดยกรมวิชาการต่างๆขั้นตอนการรับ-ส่งข้อมูลจากโปรแกรมที่ดูแลโดยกรมวิชาการต่างๆ สปสช. หน่วยบริการ/สถานพยาบาล สำนัก IT (4) ส่งกลับข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ไปยังหน่วยบริการ (ผ่านกรมวิชาการ) (1) (1) (7)โอนเงิน (3) กรมวิชาการ (ผู้รับผิดชอบโปรแกรม) (4) ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ (2) สำนักชดเชยฯ (ตรวจสอบตามเงื่อนไขการจ่าย) สสจ. (5) แจ้งจัดสรร / ปฎิเสธการจ่าย สำนักบริหารกองทุน (6)โอนงบประมาณตามผลงานรายไตรมาส และแจ้งการจัดสรร/ปฎิเสธการจ่าย ผ่าน web
ระยะเวลาการจ่ายชดเชยบริการระยะเวลาการจ่ายชดเชยบริการ รายการที่จัดส่งข้อมูลผ่านโปรแกรม e-claim จัดสรรเป็นรายเดือน(โอนงบให้หน่วยบริการโดยตรง) รายการที่จัดส่งข้อมูลผ่านโปรแกรมต่างๆ จัดสรรเป็นรายไตรมาส (โอนงบผ่านสสจ.) (ยกเว้น ข้อมูลจาก Sealant Program จัดสรรผ่านสสจ. เป็นรายเดือน)
ระยะเวลาการตัดข้อมูล-ตรวจสอบและการจ่ายชดเชยค่าบริการ (รายไตรมาส)สำหรับโปรแกรมที่ดูแล&พัฒนาโดยสำนัก IT สปสช.
ระยะเวลาการรับ-ส่งข้อมูลและการจ่ายชดเชยค่าบริการ (รายไตรมาส)สำหรับโปรแกรมที่พัฒนาโดยกรมวิชาการ * สำนัก IT ตรวจสอบข้อมูลจากกรมและส่งกลับข้อมูลที่ไม่ถูกต้องภายในวันที่ 15 ม.ค. 15 เม.ย. 15 ก.ค. & 15 พ.ย.53 ** ยกเว้น ข้อมูลจาก sealant program โอนงบประมาณเป็นรายเดือน
P&P Area – based งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับพื้นที่ แนวคิดและหลักการ 1. ดำเนินการภายใต้หลักเกณฑ์ เงื่อนไขการจัดสรรโดย อปสข. เน้นการกระจายอำนาจการบริหาร จัดการในระดับพื้นที่ 2. เป็นการดำเนินงานร่วมกันระหว่าง สปสช. เขต และ เขตตรวจราชการสาธารณสุข ภายใต้รูปแบบ คณะกรรมการระดับเขต โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่น เอกชน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในระดับจังหวัดและเขต 2. เพื่อสนับสนุนและจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 3. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้นให้หน่วยบริการจัดบริการเชิงรุกในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของ ท้องถิ่นและชุมชนให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ 4. เพื่อกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด
P&P Area – based แนวทางการจัดสรร เป็นการจัดสรร Global ระดับเขต(สปสช.) 1. จัดสรรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น ในอัตรา 40 บาท/ปชก. 2. จัดสรรเพื่อการดำเนินงาน P&P สำหรับพื้นที่และชุมชนในอัตรา 18.41 บาท/ปชก. รวมกับส่วนที่เหลือจากการจัดสรรใน ข้อ 1.(สปสช.นำมาปรับเกลี่ยในระดับประเทศ) ให้แก่หน่วยบริการ หน่วยงานหรือองค์กรที่ดำเนินงาน P&P และ สปสช. สาขาจังหวัด ข้อมูลประชากรที่ใช้ในการจัดสรรมาจาก ประชากรทุกสิทธิ ณ 1 ก.ค. 52 ดังนี้ - สิทธิ UC และ SSS ข้อมูลลงทะเบียน - สิทธิสวัสดิการ ขรก. ข้อมูลทะเบียนราษฎร์
P&P Area – based ขั้นตอนการจัดสรร รอบแรก 1. สปสช. แจ้งกรอบวงเงินงบประมาณในส่วน 18.41 บาท/ปชก. ให้ สปสช. เขต ภายใน ส.ค. 52 เพื่อ สปสช.เขตจัดทำแผนการจัดสรรงบประมาณส่ง สปสช. ภายในสิ้น ต.ค. 52 2. ส่วนกองทุนฯตำบลให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของสำนักฯภาคี (ซึ่ง สปสช. เขตจะต้องแจ้งยอดการเข้าร่วมของกองทุนฯให้ สปสช. ภายใน พ.ย. 52) รอบสอง งบเหลือจากการจัดสรรกองทุนฯตำบล สปสช. จะนำมาปรับเกลี่ยในภาพรวมระดับประเทศ และแจ้งกรอบวงเงินให้ สปสช. เขต เพื่อจัดทำแผนการจัดสรร งบรอบสอง ส่ง สปสช. ภายใน ธ.ค. 52
P&P Area – based • ขอบเขตกิจกรรม 1. สนับสนุนการจัดพิมพ์สมุดบันทึกแม่&เด็ก และสมุดบันทึกนักเรียน 2. แก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่ 3. ดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้นหน่วยบริการจัดบริการเชิงรุก เพื่อให้ ปชช. เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ 4. สนับสนุนและแก้ไขปัญหาเพื่อให้บรรลุตามตัวชี้วัดหรือนโยบายด้าน P&P 5. การกำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน P&P 6. การจัดซื้อครุภัณฑ์ที่จำเป็นสำหรับงาน P&P ไม่เกิน 10% ของ งบประมาณที่ หน่วยงานได้รับและต้องเสนอ อปสข. เพื่อพิจารณาเห็นชอบ • กิจกรรมที่ห้ามดำเนินการ ได้แก่ การศึกษาดูงาน การจัดซื้อ จัดหาที่ดิน สิ่งก่อสร้าง
P&P Area – based สำหรับ สปสช. เขตที่ดำเนินการนำร่องโครงการเขตสุขภาพ คือ สปสช. เขต 9 นครราชสีมา และ เขต 13 กรุงเทพฯ สามารถกำหนดรูปแบบ และแนวทางการจัดสรรที่แตกต่างได้ ทั้งนี้ภายใต้เงื่อนไข ไม่แย้งกับหลักเกณฑ์ตามมติของ คณะกรรมการหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ ผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. มีการรายงานข้อมูล/ผลงานตามที่ สปสช.กำหนด
การกำกับติดตามประเมินผล P&P แผนการจัดสรรงบประมาณ/การเบิกจ่ายงบประมาณ ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด (Composite Indicator) การกำกับติดตาม โดยคณะทำงานร่วม สปสช. และ กระทรวงสาธารณสุข พัฒนาระบบ Audit (Financial & Quality) (เน้นรายการ Itemized)
การให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล เป้าหมาย 1. ประชาชนทุกกลุ่มอายุที่มีโรคเรื้อรัง 7 โรค ได้แก่ (โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไตวาย ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด เบาหวาน) 2. ผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 65 ปีทุกราย จำนวนเป้าหมายรวม 2,683,385 ราย งบจัดสรร 11.36 บาท/ปชก. UC (47.239 คน)
สวัสดี ค่ะ