591 likes | 1.13k Views
กฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคม และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง. นายธีระศักดิ์ เชยชื่น สำนักการอนุญาตและกำกับวิทยุคมนาคม สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.) โทร. 0 2271 0151 – 60 ต่อ 551 มือถือ 08 1833 6150.
E N D
กฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคมกฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคม และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง นายธีระศักดิ์ เชยชื่น สำนักการอนุญาตและกำกับวิทยุคมนาคม สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.) โทร. 0 2271 0151 – 60 ต่อ 551 มือถือ 08 1833 6150
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ประกาศ กสทช. เรื่อง การใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ (Synthesizer) ของหน่วยของรัฐ ประกาศ กสทช. เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตและการกำกับดูแลการใช้คลื่นความถี่กลางสำหรับการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐและประชาชน
พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 • เป็นกฎหมายว่าด้วยการบริหารความถี่วิทยุ • วัตถุประสงค์ • ให้เกิดการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ • ปราศจากการรบกวน • ใช้ความถี่วิทยุได้อย่างเพียงพอและเท่าเทียมกัน
พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 เจตนารมณ์ กำหนดการใช้ความถี่วิทยุ - การจัดสรรความถี่วิทยุ กำกับดูแลการใช้ความถี่วิทยุ - ออกใบอนุญาต - ออกกฎ ระเบียบ - กำหนดมาตรฐานเครื่องวิทยุคมนาคม - การดำเนินคดี
พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 ความถี่วิทยุ หรือ คลื่นความถี่ หรือ คลื่นแฮรตเซียน : คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ระหว่าง 10 กิโลไซเคิลต่อวินาที และ 3,000,000 เมกกะไซเคิลต่อวินาที (ไซเคิลต่อวินาที เท่ากับ เฮิรตซ์) วิทยุคมนาคม : การส่งหรือการรับเครื่องหมายสัญญาณ ตัวหนังสือ ภาพ และเสียงหรือการอื่นใด ซึ่งสามารถให้เข้าในความหมายคลื่นแฮรตเซียน เครื่องวิทยุคมนาคม : เครื่องส่งวิทยุคมนาคม เครื่องรับวิทยุคมนาคมหรือเครื่องรับและส่งวิทยุคมนาคม แต่ไม่รวมตลอดถึงเครื่องรับวิทยุกระจายเสียง เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์ และเครื่องส่ง เครื่องรับหรือเครื่องรับและส่งวิทยุคมนาคมด้วยคลื่นแฮรตเซียนตามลักษณะหรือประเภทที่กำหนดในกฎกระทรวง
พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 อุปกรณ์วิทยุคมนาคม : อุปกรณ์ของเครื่องวิทยุคมนาคมที่ถือว่าเป็นเครื่องวิทยุคมนาคม ประกอบด้วย สายอากาศ เครื่องขยายกำลังส่ง (RF AMP.) อุปกรณ์วิทยุคมนาคมตามประกาศ กสทช. หากนำไปประกอบเข้า หรือใช้กับเครื่องวิทยุคมนาคมที่ได้รับใบอนุญาตแล้วให้อุปกรณ์นั้นได้รับยกเว้นไม่ต้องได้รับใบอนุญาตอีก
พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 มาตรา 6 , 7 , 8 และ 11 ผู้ที่มีความประสงค์จะดำเนินการดังต่อไปนี้ จะต้องได้รับใบอนุญาตวิทยุคมนาคมจากเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต : ทำ มี ใช้ นำเข้า นำออก หรือค้า ซึ่งเครื่องวิทยุคมนาคม กระทำหน้าที่พนักงานวิทยุคมนาคม รับข่าววิทยุคมนาคมต่างประเทศเพื่อการโฆษณา ตั้งสถานีวิทยุคมนาคม (1) ใช้ความถี่วิทยุตามข้อบังคับวิทยุ หรือตารางกำหนดความถี่แห่งชาติ (2) กรณีตั้งสถานีวิทยุคมนาคมในเขตปลอดภัยเดินอากาศต้องได้รับอนุญาต จากกรมการขนส่งทางอากาศ (3) ชำระค่าตอบแทนในการใช้ความถี่วิทยุ
พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 มาตรา 9 และประกาศ กสทช.
ลักษณะของใบอนุญาต พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 เป็นสิทธิเฉพาะตัว ออกให้เฉพาะบุคคล และเฉพาะเครื่องวิทยุ โอนเครื่องวิทยุได้ แต่โอนใบอนุญาตไม่ได้
พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 • ข้อห้ามในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม • ส่งหรือจัดให้ส่งข้อความเท็จ หรือที่ไม่ได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ • (มาตรา 16) • ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมเพื่อประโยชน์นอกเหนือจากราชการหรือที่กำหนดในใบอนุญาต (มาตรา 12) • จงใจกระทำให้เกิดการรบกวนหรือขัดขวางต่อการวิทยุคมนาคม (มาตรา 26) • ไม่ปฏิบัติตามที่เจ้าพนักงานสั่งการ เมื่อกระทำให้เกิดการรบกวนหรือขัดขวาง • ต่อการวิทยุคมนาคมโดยไม่เจตนา (มาตรา 15) • ดักรับไว้หรือใช้ประโยชน์ซึ่งข่าววิทยุคมนาคมที่มิได้มุ่งหมายเพื่อประโยชน์สาธารณะ (มาตรา 17) • ใช้ความถี่วิทยุที่ไม่ได้รับอนุญาต (มาตรา 11)
พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 • การดำเนินคดีความผิด • การดำเนินคดีทางศาล • การเปรียบเทียบปรับโดยเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต การเปรียบเทียบคดี (กสทช.) กระบวนการที่ให้คดีเสร็จสิ้นไปโดยเร็วไม่ต้องนำคดีสู่ศาล หลักเกณฑ์ - กสทช. หรือพนักงานเจ้าหน้าที่เห็นว่ามิได้เป็นการกระทำผิดร้ายแรงจนต้องได้รับโทษจำคุก - ผู้ต้องหาให้การรับสารภาพตลอดข้อกล่าวหา - กสทช. หรือพนักงานเจ้าหน้าที่กำหนดค่าปรับ - ผู้กระทำผิดชำระค่าปรับภายใน 15 วัน
หน่วยงานที่ได้รับยกเว้นการได้รับใบอนุญาต ( มาตรา 5 ) พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 กระทรวง ทบวง กรม นิติบุคคลในกฎกระทรวง จังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด สุขาภิบาล กทม. เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนตำบล สภาตำบล
Synthesizer เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 1 เครื่องที่ผู้ใช้สามารถตั้งความถี่ได้เองจากภายนอกเครื่อง เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 2 เครื่องที่ผู้ใช้ไม่สามารถตั้งความถี่ได้เองจากภายนอกเครื่อง
Synthesizer หน่วยงานที่มีสิทธิใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 1 มีหน้าที่ป้องกันและรักษาความมั่นคงของประเทศ ป้องกันและปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมายที่มีผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประเทศ อารักขาบุคคลสำคัญของประเทศ อารักขาบุคคลสำคัญของต่างประเทศที่มาเยือนประเทศไทย ถวายความปลอดภัยแด่ในหลวง และพระบรมวงศานุวงศ์
Synthesizer หน่วยงานที่มีสิทธิใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 1 อาทิเช่น กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ สนง.ตำรวจแห่งชาติ สนง. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สนง. กสทช. กรมศุลกากร สำนักข่าวกรองแห่งชาติ สนง. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) กระทรวงมหาดไทย (เฉพาะตำแหน่งระดับสูง) กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
Synthesizer หน่วยงานที่มีสิทธิใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 2 หน่วยงานราชการอื่นที่ไม่มีสิทธิใช้เครื่องวิทยุคมนาคม แบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 1 หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ
Synthesizer บุคคลที่มีสิทธิใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 2 เป็นหน่วยงานที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ความถี่วิทยุ ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานองค์กรของรัฐ ลูกจ้างประจำ พนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน กำนัน สารวัตรกำนัน แพทย์ประจำตำบล บุคคลธรรมดาที่ได้รับอนุญาตให้ร่วมใช้ความถี่วิทยุกับหน่วยงาน
Synthesizer คุณสมบัติ : ต้องผ่านการฝึกอบรมการใช้เครื่อง SYNTHESIZER ประเภท 2 ต้องไม่เป็นผู้มีพฤติกรรมเป็นที่เสียหายหรือเป็นภัยต่อสังคม หรือความมั่นคงของชาติ ต้องผ่านการฝึกอบรมตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการสื่อสาร ต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงานราชการหรือรัฐวิสาหกิจ แล้วแต่กรณี ว่ามีความจำเป็นต้องใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่
หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ มีหน้าที่ดังนี้ จัดหาเครื่องวิทยุคมนาคมมาโดยชอบด้วยกฎหมาย ควบคุมการรับ-ส่งข่าวสารทางเครื่องวิทยุคมนาคมฯ จัดให้มี - บัตรประจำตัวผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม (รับรองตัวบุคคล) - บัตรประจำเครื่องวิทยุคมนาคม (รับรองเครื่องว่าเป็นของหน่วยงาน) กำหนดทะเบียนควบคุมการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม จัดทำบัญชีคุมการเบิกจ่ายเครื่องวิทยุคมนาคม จัดทำคู่มือการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม จัดฝึกอบรมการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม อำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงานในการตรวจสอบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
Synthesizer มาตรการกำกับดูแล ตักเตือนด้วยวาจา ตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร ระงับการใช้คลื่นความถี่ หรือพักใช้ใบอนุญาต ยกเลิกการอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ หรือเพิกถอนใบอนุญาต ดำเนินการตามกฎหมาย
ความถี่กลาง หลักเกณฑ์ ให้ใช้คลื่นความถี่กลางร่วมของหน่วยงานของรัฐ สำหรับติดต่อประสานงานในการปฏิบัติหน้าที่ และภารกิจร่วมกันในการสนับสนุนงานของหน่วยงานของรัฐ ทั้งในภาวะปกติและกรณีประเทศเกิดภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉิน
ความถี่กลาง ข้อกำหนดและแนวทางปฏบัติ ภายหลังจากที่ได้รับอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม ให้ดำเนินการบรรจุคลื่นความถี่กลางได้ ผู้ที่มีหน้าที่ดูแลการใช้คลื่นความถี่กลาง สำหรับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระดับประเทศ กรม ปภ. ระดับเขตภูมิภาค ศูนย์ ปภ.เขต ระดับจังหวัด สำนักงาน ปภ.จ. กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ หน่วยงานที่ไม่เกี่ยวข้องจะต้องระงับการใช้คลื่นความถี่กลางทันที
ความถี่วิทยุกลางสำหรับการติดต่อประสานงานระหว่างความถี่วิทยุกลางสำหรับการติดต่อประสานงานระหว่าง ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ สำหรับการติดต่อสื่อสารแบบ ซิมเพล็กซ์ (Simplex) และ เซมิดูเพล็กซ์ (Semi-duplex)
ความถี่วิทยุกลางร่วมภาครัฐกรณีแจ้งเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติความถี่วิทยุกลางร่วมภาครัฐกรณีแจ้งเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ ความถี่วิทยุกลางร่วมภาครัฐ-ประชาชนกรณีแจ้งเหตุฉุกเฉิน หรือภัยพิบัติ
ขั้นตอนการร่วมข่ายสื่อสารขั้นตอนการร่วมข่ายสื่อสาร ขออนุญาตร่วมข่ายกับ หน่วยงาน หน่วยงานยื่นขออนุญาตกับ กสทช. ผ่านการอบรมหลักสูตร SYNTHESIZER กสทช. แจ้งผลการอนุญาตให้หน่วยงาน หน่วยงานออกบัตรประจำตัวผู้ใช้เครื่องฯ จัดหาเครื่องวิทยุฯ ตามเงื่อนไขการอนุญาต อนุญาตให้ร่วมข่ายสื่อสารของราชการ เฉพาะเครื่องวิทยุคมนาคม ชนิดมือถือ เท่านั้น ยื่นขอรับใบอนุญาตวิทยุคมนาคม
ความถี่ที่ได้รับอนุญาตความถี่ที่ได้รับอนุญาต ความถี่กลาง 4 ความถี่ ความถี่หน่วยงาน ก. ความถี่หน่วยงาน ข. ความถี่หน่วยงาน ค.
การติดต่อสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพการติดต่อสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ คน (พนักงานวิทยุ) ความถี่วิทยุ เครื่องวิทยุคมนาคม
ตารางข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศตารางข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศ
ตารางกำหนดคลื่นความถี่แห่งชาติตารางกำหนดคลื่นความถี่แห่งชาติ
กำลังส่งของเครื่องวิทยุคมนาคมกำลังส่งของเครื่องวิทยุคมนาคม มาตรฐานทางเทคนิคของเครื่องโทรคมนาคมและอุปกรณ์ เรื่อง เครื่องวิทยุคมนาคมในกิจการเคลื่อนที่ทางบก ย่านความถี่วิทยุ VHF/UHF
กำลังส่งของเครื่องวิทยุคมนาคมกำลังส่งของเครื่องวิทยุคมนาคม
การพกพาเครื่องวิทยุคมนาคมการพกพาเครื่องวิทยุคมนาคม ควรแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อย พกพาเครื่องวิทยุคมนาคมให้มิดชิด ตำแหน่งที่พกพาเครื่องวิทยุคมนาคมต้องเหมาะสม ไม่ควรพกพาเครื่องวิทยุคมนาคมในลักษณะโอ้อวด
เครื่องวิทยุคมนาคมของทางราชการเครื่องวิทยุคมนาคมของทางราชการ บัตรประจำตัวผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม บัตรประจำเครื่องวิทยุคมนาคม เครื่องวิทยุคมนาคมส่วนตัวร่วมข่ายราชการ บัตรประจำตัวผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม ใบอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารหลักฐานประกอบการขอรับใบอนุญาตเอกสารหลักฐานประกอบการขอรับใบอนุญาต ใบอนุญาตใช้เครื่องวิทยุคมนาคมร่วมข่ายราชการ แบบคำขอรับใบอนุญาต (แบบ ฉก.2) สำเนาหนังสืออนุญาตขยายข่ายสื่อสารจาก กสทช. ของหน่วยงานที่ให้ร่วมข่ายสื่อสาร รายละเอียดของเครื่องวิทยุคมนาคม (ตราอักษร รุ่น/แบบ หมายเลขเครื่อง เลขทะเบียนวิทยุคมนาคม) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต
ห้ามรับส่งข่าวทางธุรกิจการค้าห้ามรับส่งข่าวทางธุรกิจการค้า ห้ามใช้ถ้อยคำที่ไม่สุภาพหรือคำหยาบคาย ห้ามรับส่งข่าวสารอันมีเนื้อหาละเมิดต่อกฎหมายบ้านเมือง ห้ามส่งเสียงดนตรี รายการบันเทิง รายการโฆษณาทางธุรกิจ ห้ามส่งสัญญาณรบกวนโดยจงใจต่อการสื่อสารของสถานีอื่น ห้ามติดต่อสื่อสารกับสถานีที่ไม่ได้รับอนุญาต ห้ามใช้สัญญาณเรียกขานปลอมหรือแอบอ้างใช้สัญญาณเรียกขาน ของผู้อื่น ข้อห้ามและข้อควรงดเว้น
ห้ามให้ผู้อื่นที่ไม่มีใบอนุญาตใช้เครื่องวิทยุคมนาคมหรือใช้สถานีวิทยุ (ผิดมือ) เว้นแต่เครื่องได้รับยกเว้นใบอนุญาต ห้ามใช้รหัสอื่นในการติดต่อสื่อสารนอกจากรหัสที่กำหนดให้ใช้ (รหัส ว.) ห้ามแสดงอารมณ์ขุ่นเคืองหรือโกรธในการติดต่อสื่อสาร ห้ามแย่งใช้ช่องความถี่ในการติดต่อสื่อสาร ห้ามติดต่อสื่อสารในขณะมึนเมาสุราหรือควบคุมสติไม่ได้ ห้ามพูดเยาะเย้ย ถากถาง กระแนะกระแหน พูดจาหยอกล้อกัน ข้อห้ามและข้อควรงดเว้น (ต่อ)
เรียงลำดับข้อความที่จะส่งเรียงลำดับข้อความที่จะส่ง ส่งข่าวเร่งด่วนก่อน แบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง ควรใช้คำย่อที่กำหนดให้ใช้ในข่ายสื่อสารนั้น การขัดจังหวะต้องดูช่วงเวลาที่สถานีจบข้อความสำคัญๆ แล้ว หลักปฏิบัติในการส่งข่าว
สัญญาณเรียกขาน หมายถึง การนำตัวอักษร หรือตัวเลขรวมทั้งคำพูด มาใช้แทนชื่อสถานีหรือข่ายสถานีในการปฏิบัติการสื่อสารในการส่งข่าว สัญญาณเรียกขาน กำหนดขึ้นเพื่อ (1) เป็นชื่อเรียกขานประจำตัวพนักงานวิทยุคมนาคม (2) เป็นชื่อเรียกขานของสถานีวิทยุคมนาคม สัญญาณเรียกขาน (Call Sign)
ตัวอย่างสัญญาณเรียกขานในข่ายราชการ/รัฐวิสาหกิจตัวอย่างสัญญาณเรียกขานในข่ายราชการ/รัฐวิสาหกิจ สายลม :สำนักงาน กสทช. เสมา :กระทรวงศึกษาธิการ ศิลา :มหาวิทยาลัยรามคำแหง สามัญ :กรมสามัญศึกษา
สัญญาณวิทยุ (รหัส ว.) ว 00 :โปรดคอยสักครู่ ว 1 :ขอทราบที่อยู่ ว 2 :ได้ยินหรือไม่ ว 4 :ออกไปปฏิบัติการตามปกติ ว 5 : ความลับ ว 13 :ให้ติดต่อทางโทรศัพท์ ว 16 :ทดสอบสัญญาณ ว 40 :มีอุบัติเหตุรถชน ว 61 :ขอบคุณสวัสดี
สัญญาณแจ้งเหตุ เหตุ 111 :ลักทรัพย์ เหตุ 141:ปล้นทรัพย์ เหตุ 200 :มีเหตุประทุษร้ายต่อร่างกาย เหตุ 241 :เหตุฆ่าคนตาย เหตุ 510 : วัตถุต้องสงสัยเกี่ยวกับระเบิด เหตุ 602 :นักเรียนก่อเหตุหลบหนีไปแล้ว
ใช้ความถี่วิทยุที่ถูกต้อง โดยได้รับการจัดสรรจากกรมไปรษณีย์โทรเลข (เดิม) / กทช. / กสทช. เครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้งานต้องถูกต้องตามกฎหมาย พนักงานวิทยุต้องปฏิบัติตาม กฎหมายและระเบียบที่ เกี่ยวข้อง การติดต่อสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ