300 likes | 1.22k Views
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก. Biology (40244) Miss Lampoei Puangmalai. บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก. 12.1 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 12.2 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น 12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ 12.4 การคายน้ำของพืช 12.5 การลำเลียงน้ำของพืช
E N D
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก Biology (40244) Miss Lampoei Puangmalai
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก • 12.1 โครงสร้างและหน้าที่ของราก • 12.2 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น • 12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ • 12.4 การคายน้ำของพืช • 12.5 การลำเลียงน้ำของพืช • 12.6 การลำเลียงธาตุอาหารของพืช • 12.7 การลำเลียงสารอาหารของพืช
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ • 1. สืบค้นข้อมูล และอธิบายลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ • 2. สำรวจตรวจสอบ และอภิปรายลักษณะโครงสร้างของราก ลำต้น ใบ ที่สัมพันธ์กับหน้าที่ • 3. สำรวจตรวจสอบโครงสร้างภายในตัดตามขวางของราก ลำต้น ใบ • 4. สำรวจตรวจสอบตำแหน่งและจำนวนปากใบของพืชในท้องถิ่น • 5. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปการคายน้ำของพืช • 6. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปการลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และสารอาหารของพืช • 7. สำรวจตรวจสอบอัตราการคายน้ำของพืช • 8. เขียนผังมโนทัศน์เรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
12.2 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น • 12.2.1 เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอด • 12.2.2 โครงสร้างภายในลำต้น • 12.2.3 หน้าที่และชนิดของลำต้น
12.2.1 เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอด • 1. เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด (apical meristem) • 2. ใบเริ่มเกิด (leaf primordium) • 3. ใบอ่อน (young leaf) • 4. ลำต้นอ่อน (young stem)
The Shoot System • Above ground (usually) • Elevates the plant above the soil • Many functions including: • photosynthesis • reproduction & dispersal • food and water conduction
Shoot apical meristem http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/labs/plantanatomy.htm
http://bio1152.nicerweb.com/Locked/media/lab/plantae/organs/index.htmlhttp://bio1152.nicerweb.com/Locked/media/lab/plantae/organs/index.html
12.2.2 โครงสร้างภายในลำต้น • การเจริญเติบโตของลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ มี 2 ระยะ • 1. การเจริญเติบโตขั้นต้น (primary growth) • 2. การเจริญเติบโตขั้นที่ 2 (secondary growth)
Stem of a Dicotyledonous Plant: • Internal Structure • From the study of the transverse section of the dicotyledonous stem you will identify the following three regions of tissues: • epidermis, • cortex, • vascular cylinder or stele.
12.2.2 โครงสร้างภายในลำต้น • ประกอบด้วยชั้นเนื้อเยื่อต่าง ๆ ดังนี้ • 1. epidermis • 2. cortex • 3. stele • 3.1 vascular bundle • Phloem • xylem • 3.2 vascular lay • 3.3 pith
Herbacous Dicot Stem Cross Sections http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/labs/plantanatomy.htm
Monocot Stem Cross Section http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/labs/plantanatomy.htm
http://bio1152.nicerweb.com/Locked/media/lab/plantae/organs/index.htmlhttp://bio1152.nicerweb.com/Locked/media/lab/plantae/organs/index.html
ลำต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวลำต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว • พืชใบเลี้ยงเดี่ยว (monocot) • vascular bundles จะกระจายอยู่ทั่วลำต้น • ไม่มี vascular cambium คั่นระหว่าง xylem และ phloem • บางชนิด pith จะสลายไป กลายเป็นช่องกลวงกลางลำต้น เรียกว่า pith cavity • พบในบริเวณปล้อง (internode) เช่น ลำต้นของหญ้า และไผ่ แต่บริเวณข้อ (node) ยังมี pith
การเจริญขั้นที่สองของลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่การเจริญขั้นที่สองของลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ • เนื้อจากพืชใบเลี้ยงคู่ มี vascular cambium อยู่ระหว่าง xylem, phloem • จะแบ่งเซลล์สร้าง secondary xylem ได้เร็วกว่า secondary phloem • การสร้าง vascular cambium จะแตกต่างกันในแต่ละฤดู ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำและ แร่ธาตุ จะได้เนื้อไม้สีเข้มและสีจาง สลับกัน เห็นเป็นวง เราเรียกว่า วงปี (annual ring)
วงปี (annual ring) • Xylem ที่อายุมากที่สุดจะอยู่ชั้นในสุดของลำต้น ทำหน้าที่ ให้ความแข็งแรง • Xylem มีสีเข้มเรา เรียกว่า แก่นไม้ (heart wood) • Xylem ที่อยู่รอบนอกมีสีจางกว่า ยังทำหน้าที่ ลำเลียงน้ำ และแร่ธาตุต่อไป เรียกว่า กระพี้ไม้ (sap wood) • รวมเรียก แก่นไม้ และกระพี้ไม้ ว่า เนื้อไม้ (wood)
annual ring http://www.puc.edu/Faculty/Gilbert_Muth/botglosa.htm
เปลือกไม้ (bark) คือ ส่วนที่อยู่ถัดจาก ออกไปข้างนอก • ในลำต้นอายุน้อย ๆ เปลือกไม้จะประกอบด้วย epidermis, cortex, phloem • ในลำต้นที่อายุมาก epidermis หลุดสลายไป เหลือแต่เนื้อเยื่อ คอร์ก (cork) และ cork cambium
การเจริญขั้นที่สองของลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวการเจริญขั้นที่สองของลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว • โดยทั่วไป มักไม่มีการเจริญเติบโตขั้นที่ 2 • ยกเว้น พืชบางชนิด เช่น หมากผู้หมากเมีย , จันทร์ผา
12.2.3 หน้าที่และชนิดของลำต้น • หน้าที่หลักของลำต้น • สร้างใบและกิ่ง • ช่วยพยุงกิ่งก้านสาขา ชูใบให้รับแสงแดด • ลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และสารต่าง ๆ ที่พืชสร้างขึ้นไปยังส่วนต่าง ๆ
12.2.3 หน้าที่และชนิดของลำต้น • หน้าที่พิเศษของลำต้น • ลำต้นเปลี่ยนไปเป็นหนาม เช่น มะนาว ส้ม เฟื่องฟ้า เป็นต้น • ลำต้นเปลี่ยนไปเป็นมือเกาะ เช่น พวงชมพู องุ่น เป็นต้น • ลำต้นสังเคราะห์แสงแทนใบ เช่น กระบองเพชร พญาไร้ใบ เป็นต้น • ลำต้นสะสมอาหาร เช่น เผือก มันฝรั่ง แห้ว ขิง ข่า เป็นต้น
References • สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : 2547. 156 หน้า. • http://www.eduzones.com/vichakan/bio/bio5.html • http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/labs/plantanatomy.htm • http://www.botany.uwc.ac.za/sci_ed/grade10/anatomy/stems.htm
Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology Department of science St. Louis College Chachoengsao