1 / 78

สารเคมีในสมอง (BRAIN CHEMICALS) สารสื่อนำกระแสประสาท (NEURO TRANSMITTERS)

สารเคมีในสมอง (BRAIN CHEMICALS) สารสื่อนำกระแสประสาท (NEURO TRANSMITTERS) เนื้อหาเรื่องนี้กลั่นกรองและปรับปรุงโดยน.พ.เอกชัยฯ ซึ่งไม่มีความชำนาญ เฉพาะทางในเรื่องนี้ จึงไม่ควรเชื่อ และเป็นเพียงแนวทางในการศึกษาต่อไปเท่านั้น. เนื้อหาในเรื่องนี้นำมาจากหลายแหล่ง เช่น จาก นพ.วรวุฒิ เจริญศิริ

belita
Download Presentation

สารเคมีในสมอง (BRAIN CHEMICALS) สารสื่อนำกระแสประสาท (NEURO TRANSMITTERS)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สารเคมีในสมอง (BRAIN CHEMICALS) สารสื่อนำกระแสประสาท (NEURO TRANSMITTERS) เนื้อหาเรื่องนี้กลั่นกรองและปรับปรุงโดยน.พ.เอกชัยฯ ซึ่งไม่มีความชำนาญ เฉพาะทางในเรื่องนี้ จึงไม่ควรเชื่อ และเป็นเพียงแนวทางในการศึกษาต่อไปเท่านั้น. เนื้อหาในเรื่องนี้นำมาจากหลายแหล่ง เช่น จาก นพ.วรวุฒิ เจริญศิริ จากเว็บไซต์ต่าง ๆและภาพจาก www.wikipedia.comนั้น เขาไม่สงวนลิขสิทธิ์ .

  2. สารเคมีในสมอง(brain chemicals)หมายถึงสารสื่อนำกระแสประ-สาทโดยเป็นสารเคมีที่เซลล์ประสาทสร้างขึ้นมาเป็นส่วนใหญ่เพื่อทำหน้า ที่ในการให้กระแสประสาท(สัญญาณประสาท)จากเซลล์หนึ่งผ่านไปยังอีกเซลล์หนึ่ง”

  3. เซ็ลล์ประสาทส่งสัญญาณจากเซ็ลล์ประสาทส่งสัญญาณจาก เซ็ลล์หนึ่งไปยังอีกเซ็ลล์หนึ่ง สัญญาณ ประสาท ที่เชื่อมต่อ ระหว่างเซ็ลล์ http://img.tfd.com/dorland /thumbs/synapse.jpg

  4. สมอง http://en.wikipedia.org/wiki/Human_brain

  5. สมองเป็นอวัยวะสำคัญที่สุดสมองเป็นอวัยวะสำคัญที่สุด คนปรกติมีสมองเป็นศูนย์กลางของความรู้สึก นึกคิด จำ การรู้เรื่องต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น รวมทั้งสั่งการให้เกิดการกระทำ ต่าง ๆ. เราจึงควรรู้เรื่องต่างๆของสมองเพื่อดูแลสมองให้ใช้งานได้ดีและนานที่สุด.

  6. เคลื่อนไหว รับรู้ความรู้สึก จำ คิด แปลผลทั่วไป การพูด ศูนย์การ ได้ยิน ศูนย์การเห็น และการเคลื่อน ไหวของตา แปลผลความรู้สึก ความจำด้านภาพและเสียง ก้านสมอง http://en.wikipedia.org/wiki/Human_brain

  7. ตัวเซ็ลล์ประสาท ที่รับ ที่ส่ง สัญญาณ การรับส่งสัญญานของเซ็ลล์ประสาท http://en.wikipedia.org/wiki/Action_potential

  8. เซ็ลล์ประสาทมีการเชื่อมโยงกันและกันเซ็ลล์ประสาทมีการเชื่อมโยงกันและกัน http://en.wikipedia.org/wiki/Nerve_cell

  9. เซ็ลล์ประสาท ส่งสัญญาณ รับสัญญาณ นิวเคลียส ปลอกหุ้มเส้นประสาท นิวเคลียส http://en.wikipedia.org/wiki/Nerve_cell

  10. เซ็ลล์ประสาท ส่งสัญญาณ รับสัญญาณ นิวเคลียส ปลอกหุ้มเส้นประสาท นิวเคลียส http://en.wikipedia.org/wiki/Nerve_cell

  11. ขยายภาพการเชื่อมโยงระหว่างเซ็ลล์ประสาทขยายภาพการเชื่อมโยงระหว่างเซ็ลล์ประสาท รับ ขยายภาพตรงนี้ ส่ง สารสื่อ ประสาท http://en.wikipedia.org/wiki/Nerve_cell

  12. หลักการทำงาน ของสารสื่อนำประสาทหรือสารเคมีในสมอง เซ็ลล์ประสาทปลายทาง เซ็ลล์ประสาท ต้นทาง สารนำประสาท เซ็ลล์ประสาท ปลายทาง http://en.wikipedia.org/wiki/Action_potential

  13. ที่เก็บ สารสื่อประสาท สารสื่อประสาท ที่ส่ง สัญญาณฯ ที่เชื่อมต่อ ที่รับ สัญญาณฯ http://en.wikipedia.org/wiki/Action_potential

  14. การทำงานของเซ็ลล์ประสาทการทำงานของเซ็ลล์ประสาท • ทำให้สามารถรับและส่งกระแส • ประสาท(สัญญาน). • ๒. ร่างกายจะมีระบบควบคุมไม่ให้ • สารนี้มีมากเกินไป. • ๓. มีระบบดูดสารเคมีกลับมาไว้ที่ • เซ็ลล์ประสาทส่วนต้น.

  15. สารเคมีในสมอง ๑.อะซิติลโคลีน ๒.นอร์อิปิเนฟริน ๓. โดปามีน ๔.กาบา ๕. กลูตาเมต ๖.ซีโรโทนิน ๗. เอ็นดอร์ฟิน หรือสารสื่อนำประสาท

  16. ๑.อะซิติลโคลีน(acetylcholine) เป็นสารเคมีในสมองชนิดแรกที่ถูกค้นพบที่ ไขสันหลัง ? รอยเชื่อมต่อกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย ? กล้ามเนื้อเรียบของอวัยวะภายใน ? ปมประสาทอัตโนมัติ–พาราซิมพาเทติก?

  17. ที่เก็บ สารสื่อประสาท สารสื่อประสาท ที่ส่ง สัญญาณฯ ที่เชื่อมต่อ ที่รับ สัญญาณฯ http://en.wikipedia.org/wiki/Action_potential

  18. หน้าที่ของอะซิติลโคลีนหน้าที่ของอะซิติลโคลีน ๑. ความจำ. ๒. กระบวนการเรียนรู้. ๓. ควบคุมพฤติกรรม. ๔. การเคลื่อนไหว.

  19. ที่กล้ามเนื้อการทำงานของกล้ามที่กล้ามเนื้อการทำงานของกล้าม เนื้อลดลง บริเวณที่เชื่อม ต่อระหว่างเซ็ลล์ ประสาทกับ เซ็ลล์กล้ามเนื้อ http://education.vetmed.vt.edu/ Curriculum/VM8054/Labs/Lab10/lab10.htm

  20. ถ้ามีอะเซทิลโคลีนในระดับตํ่าถ้ามีอะเซทิลโคลีนในระดับตํ่า ที่สมอง สมาธิสั้น ขี้ลืม ความจำไม่ดีโดย เฉพาะความจำระยะสั้น นอนหลับไม่สนิทได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะหลับลึก. โรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ พบว่า ใน สมอง ของผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้มีปริมาณของ อะซิติลโคลีนลดลงถึง 90%.

  21. ๒. นอร์อิปิเนฟริน(norepinephrine) นอร์อิปิเนฟรินเป็นฮอร์โมนและเป็นสารสื่อประสาทที่ผลิตโดยต่อมหมวกไต เกิดขึ้นในขณะเวลาที่เกิดความกลัวและเครียด.

  22. ต่อมหมวกไต ไต http://en.wikipedia.org/wiki/Adrenal_gland

  23. นอร์อิปิเนฟรินเป็นฮอร์โมนและสาร เคมีในสมองที่กระตุ้นการทำงานของระบบประสาอัตโนมัติชนิดซิมพาเธติก เป็นผลให้เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ เพิ่มความดันโลหิต / เลือดไปยังกล้าม เนื้อ เพิ่มกลูโคส เพื่อพร้อมที่จะสู้หรือหนีปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น.

  24. ตอนเช้า เมื่อตื่นขึ้นมา ตาได้รับแสงสว่าง ก็จะกระตุ้นให้ร่างกายสร้างฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตทำให้ความ ดันโลหิตสูงขึ้น ตื่นตัว พร้อมทำกิจ. ผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูง ความดันมักจะขึ้นสูงในช่วงเช้า จึงควรวัดความดันตอนตื่นนอน เพื่อปรับยา.

  25. นอร์อิปิเนฟรินเกี่ยวข้องกับนอร์อิปิเนฟรินเกี่ยวข้องกับ การควบคุมความตื่นตัว ความจำ และการเรียนรู้. ถ้าขาดอาจเกิดการความไม่ตื่นตัว ความจำและการเรียนรู้ก็ลดลง อาจเกิดโรคซึม เศร้า.

  26. ๓. โดปามีน(dopamine) การมีโดปามีนน้อยเกินไปจะ ทำให้เกิดเป็นโรคพาร์กินสัน. การให้สารตั้งต้นของโดปามีน คือL-dopaจะสามารถรักษาอาการ ของโรคพาร์กินสันได้.

  27. สารโดปามีน ช่วงต่อระหว่างเซ็ล ที่รับโดปามีน สัญญาณประสาทที่ผ่านเข้ามา http://www.bangkokhealth.com/index.php/2009-01-19-03-15-03/1240--dopamine

  28. เซลล์สมองที่มีโดปามีนมักจะ อยู่ที่บริเวณของสมอง(ส่วน basal ganglia). พบว่าผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน มีการ ตายของเซลล์สมองที่มีโดปามีนทำ ให้สมองขาดสารโดปามีน. http://www.bangkokhealth.com/index. php/2009-01-19-03-15-03/1240--dopamine

  29. PET scan and Parkinson’s disease ปรกติ พาร์กินสัน http://en.wikipedia.org/wiki/Parkinson's_disease

  30. ลักษณะของผู้ป่วยพาร์กินสันลักษณะของผู้ป่วยพาร์กินสัน http://en.wikipedia.org/wiki/Parkinson's_disease

  31. อาการเด่นของพาร์กินสันมี3ประการอาการเด่นของพาร์กินสันมี3ประการ คือ อาการสั่น เกร็งและเคลื่อนไหวช้า. อาการสั่น มักเกิดขึ้นขณะอยู่เฉยๆ และสั่นมากเวลาอยู่นิ่งๆ แต่ขณะยื่นมือทำอะไร อาการสั่นจะลดลงหรือหายไปมักเกิดขึ้นที่มือข้างใดข้างหนึ่ง. http://th.wikipedia.org/wiki/โรคพาร์กินสัน#.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.81.E0.B8.B2. E0.B8.A3.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B9.82.E0.B8.A3.E0.B8.84

  32. อาการเพิ่มเติม อาการเกร็ง มักมีอาการเกร็งแข็งแขนขาและลำตัวตึง เคลื่อนไหวช้า งุ่มง่าม ปวดตามกล้ามเนื้อ ทำอะไรช้าลงไปจากเดิมมาก ไม่ว่องไวเหมือนเดิม สังเกตได้ว่าแขนไม่แกว่ง และผู้ป่วยมักบ่นว่าแขนขาไม่มีแรง. > http://th.wikipedia.org/wiki/โรคพาร์กินสัน

  33. นอกจากนี้ยังพบความผิดปกติของท่าทาง และการทรงตัวเช่นหลังค่อม แขนงอ หกล้มง่าย นั่งตัวเอียง ส่วนอาการอื่นๆ ที่มักพบร่วมด้วย ได้แก่ อาการปวดตามกล้าม เนื้อ ซึมเศร้า นอนไม่หลับ สีหน้าเฉยเมย ไม่แสดงอารมณ์ น้ำลายไหล. http://www.scc.ac.th/student_web/1_48/elderly_club/parkinson.html

  34. ผลของการหลั่งสารโดปามีนออกมาผลของการหลั่งสารโดปามีนออกมา ตื่นตัวของอารมณ์ กระฉับกระเฉง มีสมาธิมากขึ้น ไวต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ รอบตัว เป็นสารที่เกี่ยวข้องกับการควบ คุมอารมณ์ มีอารมณ์พึงพอใจ ปิติยินดี รักใคร่ชอบพอเรียบเรียงความนึกคิด และการทำหน้าที่ของสมองในการควบ คุมการเคลื่อนไหว.

  35. อาหาร:ระดับโดปามีนสูงขึ้นจากอา-หารโปรตีนสูง. ร่างกายสร้างสารโดปามีนขึ้นมาจากกรดอะมิโนชนิดที่มีชื่อว่าไทโรซีนจากอาหารประเภทโปรตีนสูง เช่น เนื้อสัตว์ถั่วเหลือง อาหารทะเล ไข่ และนม จะช่วยให้สมองมีพลัง กระ-ฉับกระเฉงและตื่นตัว.

  36. โดปามีนเกี่ยวข้องกับโรคจิตเภทและโรคจิตชนิดอื่นๆ เพราะมีโดปามีนมากเกินไป. ยารักษาโรคจิตเภทหลายตัวจึงฤทธิ์ต้านสารโดปามีน. โดปามีนมากไปจะกระคุ้นให้คิด จนอาจจะไม่สามารถมีสติควบคุมความคิดของตนเองได้ และอาจเป็นโรคจิตเต็มขั้น.

  37. สารเสพติด เกี่ยวข้องกับโดปามีน สารเสพติดที่กระตุ้นประสาทสมอง ให้หลั่งโดปามีนมากขึ้น ได้แก่ โคเคน ฝิ่น เฮโรอิน รวมทั้ง อัลกอฮอล์ และนิโคตินในบุหรี่.

  38. เมื่อหยุดยากระตุ้น (ยาบ้า) จะทำให้โดปามีนลดลงมาก กำลัง จะอ่อนแรงมากหงุดหงิด กังวลมาก สับสน ซึมเศร้า และสิ้นหวัง. ต้องใช้เวลา ๒ - ๑๐ วันจึงจะหาย.

  39. โดปามีนมากเกินเกี่ยวข้องกับโดปามีนมากเกินเกี่ยวข้องกับ โรคจิตเภทที่รุนแรง โรคจิตเภทที่รุนแรง จะมีโดปามีนในสมองส่วนหน้ามากเกินไป. ยาที่ใช้รักษาโรคจิตเภทหลายชนิดจะออกฤทธิ์ต้านสารโดปามีน.

  40. ๔. กาบา(GABA, gammabutyric acid) กาบาเป็นสารสื่อประสาทชนิดออกฤทธิ์ยับยั้งกระแส(สัญญาณ)ประ- สาทที่ผ่านบริเวณเชื่อมต่อระหว่าง เซ็ลประสาท จึงให้กระแสประสาท ผ่านได้น้อยลง.

  41. สัญญาณประสาท ที่เก็บ GABA GABA GABA ปิดทางเข้า ที่รับ GABA www.benzo.org.uk/manual/bzcha01.htm สัญญาณผ่านลดลง

  42. เมื่อมีกาบาน้อย สมองก็จะคิดปรุงแต่งมากขึ้น เพราะขาดการยับยั้ง. ดังนั้น คนที่มีระดับกาบาในสมองน้อยเกินไป จะมีอาการวิตกกังวล เพราะหยุดหรือควบคุมความคิดของตนเองไม่ได้ดี.

  43. กาบ้าเป็นสารยับยั้ง(inhibitor)เพื่อรักษา สมดุลในสมองที่ได้รับการกระตุ้น ทำ ให้ผ่อนคลายและหลับสบาย. ช่วยกระตุ้นต่อมไร้ท่อ (anterior pituitary)ที่ ผลิตฮอร์โมนที่ช่วยในการเจริญเติบโต (growth hormone)ทำให้สร้างเนื้อเยื่อ กล้าม เนื้อกระชับ ป้องกันการสะสมไขมัน.

  44. ยากล่อมอารมณ์ เช่น แวลเลี่ยม ออกฤทธิ์โดยเพิ่มฤทธิ์ของกาบา ? ในบางรายมีกาบาน้อยมาก จนอาจทำให้เกิดการชักได้ ? สารที่กระตุ้นโปรตีนตัวรับกาบา ได้แก่ อัลกอฮอล์ และบาร์บิทูเรต ?

  45. สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิต -ภัณฑ์อาหารของมหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์ พบว่า ข้าวขาวดอกมะลิ 105 เมื่อนำมาเพาะเป็นข้าวกล้องงอก จะ มีสารกาบามากที่สุด (15.2-19.5 มิล- ลิกรัมต่อ 100 กรัม) สูงกว่าข้าวกล้องชนิดอื่นๆ.

  46. คุณประโยชน์ของสารในข้าวกล้องงอกคุณประโยชน์ของสารในข้าวกล้องงอก มีสารต้านอนุมูลอิสระ (กลุ่มฟิโนลิค). ช่วยยับยั้งการเกิดฝ้าชะลอความแก่. ลดอาการผิดปกติของวัยทอง. ช่วยป้องกันโรคอัลไซเมอร์. ช่วยผ่อนคลายทำให้จิตใจสงบ. หลับสบายลดความเครียดวิตกกังวล. ลดความดันโลหิต เป็นใยอาหารวิตามินอี.

  47. ข้าวโอ๊ต http://www.thaitravelhealth.com/blog/ข้าวกล้องงอก/

  48. ขณะที่ข้าวเจริญเติบโต น้ำที่แทรกเข้าไปในเมล็ดข้าวจะกระตุ้นให้เอนไซม์ ภายในเมล็ดข้าวเกิดการทำงานเมื่อข้าวเริ่มงอกสารอาหารจะถูกย่อยเป็นคาร์โบ ไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็ก ? โปรตีนจะถูกย่อยให้เกิดเป็นกรด -อะมิโนและเปปไทด์ ?

  49. ยังพบการสะสมสารสำคัญต่างๆ เช่น แกมมาออริซานอล โทโคฟีรอล แกมมาอะมิโนบิวทิริกแอซิดหรือที่รู้ จักกันว่า กาบา(GABA).

  50. นำข้าวกล้องไปแช่น้ำราว 48-72 ชั่วโมงในหม้อแช่ โดยมีการควบคุมอุณหภูมิ การไหลเวียนน้ำ ความดัน และความเป็นกรดด่างของน้ำเพื่อกระตุ้นให้เมล็ดข้าวงอกและเปลี่ยนกรดกลูตามิกไปเป็นสารกาบาอันเป็นส่วนที่สำคัญที่สุด ต่อมา เมื่อได้ข้าวกล้องงอกในขั้นตอนนี้แล้ว ก็ต้องทำให้ข้าวกล้องงอกหยุดการงอกต่อไป โดยอบแห้งให้มีความชื้นต่ำกว่า 14% ในหม้ออบแห้ง จากนั้นจึงบรรจุลงในถุงสุญญากาศ. ข้าวกล้อง ที่จะงอกได้ดีนั้นจะต้องเป็นข้าวกล้องที่ผ่านการกะเทาะเปลือกมาไม่เกิน2 สัปดาห์.

More Related