210 likes | 393 Views
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ. ทุน วิจัย เพื่อแก้ไขปัญหา ของ ท้องถิ่น โดย นายสุรพงษ์ เลิศทัศนีย์ รักษาการผู้อำนวยการ สวทช เครือข่ายภาคเหนือ. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ. ปัญหาของท้องถิ่น คืออะไร?. งานวิจัยแบบไหน
E N D
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ ทุนวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหา ของท้องถิ่น โดย นายสุรพงษ์ เลิศทัศนีย์ รักษาการผู้อำนวยการ สวทช เครือข่ายภาคเหนือ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ ปัญหาของท้องถิ่น คืออะไร? งานวิจัยแบบไหน จึงจะสามารถ ขอทุนนี้ได้?
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ ลักษณะงาน ที่เข้าข่าย เช่น... 1.ตอบสนองความต้องการของชุมชน และหน่วยงานท้องถิ่น ในเขตภาคเหนือ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ ลักษณะงาน ที่เข้าข่าย เช่น... 2.เป็นเรื่องเร่งด่วน ของท้องถิ่น (เป็นปัญหาที่พบในปัจจุบัน และต้องการแก้ไขอย่างเร่งด่วน)
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ ลักษณะงาน ที่เข้าข่าย เช่น... 3.เป็นงานวิจัยที่ วางรากฐานการแก้ไข ปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต (คาดว่าจะเกิดปัญหานี้ในอนาคต)
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ ลักษณะงาน ที่เข้าข่าย เช่น... 4.เป็นงานวิจัยที่ มุ่งเน้นให้มีการจดทะเบียน ทรัพย์สินทางปัญญา (หากเป็นไปได้)
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ ลักษณะงาน ที่เข้าข่าย เช่น... 5.ทำร่วมกันระหว่าง สวทช.เครือข่ายภาคเหนือ กับหน่วยงานต่าง ๆ หรือชุมชน / ท้องถิ่น
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ แนวทางเพื่อให้ได้มาซึ่งประเด็น ในการดำเนินการวิจัย เพิ่มรายได้ แก้ไขปัญหาปากท้อง SME OTOP นโยบายภาครัฐ ยกระดับคุณภาพชีวิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ ผลการดำเนินงาน การวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหา ท้องถิ่น ปี 2545- 2550
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ แนวทางการสนับสนุนทุนวิจัยในปี 2551
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ เงื่อนไขการสนับสนุน • งบวิจัย • ไม่เกิน 200,000 บาท/โครงการ • ระยะเวลาดำเนินการวิจัย • ไม่เกิน 1 ปี • (หากโครงการ เกิน 1 ปี ให้เขียน proposal เพียง1ปี แต่ระบุแผนการดำเนินงานในปีที่ต่อไปเพื่อให้คณะกรรมการพิจารณา โดยแต่ละปีต้องมี output ด้วย)
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ ขั้นตอนการขอทุน • เขียนข้อเสนอโครงการ (proposal) หรือ concept paper โดยใช้แบบฟอร์มของ สวทช.ภาคเหนือ • (ขอแบบฟอร์มหรือ download จาก www.nn.nstda.or.th) • จัดส่งข้อเสนอโครงการ 5 ชุด • พร้อมแผ่น disk หรือ cd-rom มายัง สวทช.ภาคเหนือ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ กำหนดการเปิดรับข้อเสนอโครงการ ประจำปี 2551 ตั้งแต่บัดนี้ จนถึง วันศุกร์ที่ 31 สิงหาคม 2550
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โครงการเครือข่าย สวทช.ภาคเหนือ โทรศัพท์ 0 5322 6264, 0 5321 4649 โทรสาร 0 5322 6265 http://www.nn.nstda.or.th E-mail : rdde@nn.nstda.or.th
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เครือข่ายภาคเหนือ รายชื่อนักวิเคราะห์โครงการ ฝ่าย BIOTEC : คุณพรรณทิพย์ สมมิตร ฝ่าย MTEC : คุณพันธวัฒน์ ไชยวรรณ์ ฝ่าย NECTEC : คุณจิรพร อัฐมาลา ฝ่าย RURALTEC : คุณเรืองฤทธิ์ ริณพัฒน์
วิสัยทัศน์: ประเทศไทยมีเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง เป็นสังคมความรู้ที่แข่งขันได้ ในสากล มีความมั่นคง และประชาชนมีชีวิตที่ดี การแข่งขันที่ยั่งยืน เศรษฐกิจชุมชน สังคมเรียนรู้ คุณภาพชีวิต/สิ่งแวดล้อม National Innovation System (Clusters) Core technologies: Human Resources 1) ICT 2) Biotechnology 3) Material Technology 4) Nanotechnology KBS Enabling Environment Core Technologies • เป้าหมายหลัก: • สัดส่วนสถานประกอบการที่มีนวัตกรรมเพิ่มขึ้นเป็น 35% และสัดส่วนของมูลค่าเพิ่มจากสินค้าและบริการที่ใช้ความรู้ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มประเทศสมาชิก [Organization for Economic Co-operation and Development (OECD)] • เพิ่มความสามารถในการจัดการตนเองเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจให้แก่ท้องถิ่น • อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสูงกว่าจุดกึ่งกลางของ IMD วิสัยทัศน์และเป้าหมายโดยรวมของแผนกลยุทธ์ ฯ
คุณ ขอบ