680 likes | 2.81k Views
การประชุมเชิงปฏิบัติการ. การบริหารผลการปฏิบัติงานสำหรับลูกจ้างประจำและพนักงานราชการ. ครั้งที่ 1 วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม 2554. ณ โรงแรมแกรนด์ ทาวเวอร์อินน์ กรุงเทพมหานคร. การเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ. หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง. ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
E N D
การประชุมเชิงปฏิบัติการการประชุมเชิงปฏิบัติการ การบริหารผลการปฏิบัติงานสำหรับลูกจ้างประจำและพนักงานราชการ ครั้งที่ 1 วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม 2554 ณ โรงแรมแกรนด์ ทาวเวอร์อินน์ กรุงเทพมหานคร
การเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำการเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ
หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง ระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเลื่อนขั้นค่าจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2544 2. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนพิเศษของข้าราชการและลูกจ้างประจำ ผู้ที่ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างถึงขั้นสูงหรือใกล้ถึงขั้นสูงฯ ( ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 3. หนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร 0203/ ว 102 ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2538 4. หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ด่วนที่สุด ที่ กค 0506.3/ว190 ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2545
หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง • 1 ปี เลื่อน 2 ครั้ง • ในวันที่ 1 เมษายน • ( ผลการปฏิบัติงาน 1 ต.ค. - 31 มี.ค. ) • ในวันที่ 1 ตุลาคม • ( ผลการปฏิบัติงาน 1 เม.ย. - 30 ก.ย. )
หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง การเลื่อนครั้งที่ 1 ( วันที่ 1 เมษายน ) ประเด็นหลัก เลื่อน 1 ขั้น ไม่ให้เกิน 15 % ของจำนวนคนที่อยู่จริงในวันที่ 1 มีนาคม ทั้งกรมฯ
หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง ระดับการเลื่อนค่าจ้าง / ค่าตอบแทนพิเศษ1 เมษายน • เลื่อนได้ 1 ขั้น 0.5 ขั้น • ค่าตอบแทนพิเศษ (ค่าจ้างเต็มขั้น) 2% หรือ 4 % • ( 1 ขั้น รวม 4 % ไม่เกินร้อยละ 15 )
หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง การเลื่อนครั้งที่ 2 (วันที่ 1 ตุลาคม ) ประเด็นหลัก - เลื่อนภายในวงเงินที่ใช้เลื่อนขั้นทั้งปี ไม่เกิน ร้อยละ 6 ของฐานค่าจ้างลูกจ้างประจำ ณ วันที่ 1 กันยายน - จำนวนคนที่ได้ 2 ขั้น ทั้งปี ไม่เกินร้อยละ 15 ของ จำนวนคนที่อยู่จริง ณ วันที่ 1 มีนาคม
หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง ระดับการเลื่อนค่าจ้าง / ค่าตอบแทนพิเศษ1 ตุลาคม • เลื่อนได้ 0.5 ขั้น, 1 ขั้น และ 1.5 ขั้น • ค่าตอบแทนพิเศษ (ค่าจ้างเต็มขั้น) 2% , 4% และ 6% • ( 2 ขั้นทั้งปี รวม 8% ไม่เกินร้อยละ 15 ของจำนวนคนที่อยู่จริง ณ 1 มีนาคม )
หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง คุณสมบัติของผู้มีสิทธิได้เลื่อนขั้นค่าจ้าง 1. เลื่อนค่าจ้างได้ไม่เกินค่าจ้างสูงสุดที่กำหนด 2. สั่งเลื่อนเงินเดือน ณ 1 เม.ย. / 1 ต.ค. ยกเว้น ผู้เกษียณอายุ สั่งเลื่อน 30 ก.ย. 3. กรณีถูกตั้งกรรมการสอบวินัยร้ายแรง ให้รอการเลื่อนขั้นค่าจ้างไว้ (หากถูกลงโทษ ต้องงดเลื่อนขั้นค่าจ้างในรอบการประเมินนั้น) 4. ลาศึกษา/ฝึกอบรม จะต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน 5. ไม่ถูกสั่งพักราชการเกิน 2 เดือน 6. ไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุอันควร 7. ลาป่วยและลากิจเกิน 10 ครั้ง หรือจำนวนวันลาเกิน 23 วัน หรือมาทำงานสายเกิน 18 ครั้ง 8. ลาไม่เกิน 23 วันทำการ โดยไม่รวมลาอุปสมบท / ลาคลอด / ป่วยจำเป็น (ต้องไม่เกิน 60 วันทำการ) ฯลฯ
หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นค่าจ้าง • 9. แต่ละคนเลื่อนค่าจ้างได้ไม่เกิน 2 ขั้น (ต่อ 1 ปี) • ครั้งที่ 1 เสนอขอเลื่อนขั้นได้ ตามระดับผลการปฏิบัติงาน • - ผลงานระดับดี ขอเลื่อน 0.5 ขั้น • - ผลงานระดับดีเด่น ขอเลื่อน 1 ขั้น • ครั้งที่ 2 เสนอขอเลื่อนขั้นได้ ตามระดับผลการปฏิบัติงาน • - ผลงานระดับดี ขอเลื่อน 0.5 ขั้น • - ผลงานระดับดีเด่น ขอเลื่อน 1 ขั้น • - ผลงานระดับดีเด่น ขอเลื่อน 1.5 ขั้น * • (*ต้องมีผลงานดีเด่น ทั้งครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ) • 10. ผลการประเมิน “ต้องปรับปรุง” ไม่มีสิทธิได้เลื่อนขั้น
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเด็นสำคัญ 1 ตุลาคม 2554 - ประเมินสัดส่วนแบบใหม่ แต่เลื่อนขั้นแบบเดิม - ให้มีคณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรมพิจารณา ก่อนนำเสนอผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนขั้นค่าจ้าง • ประเมินการปฏิบัติงานจาก 2 องค์ประกอบ คือ • ผลงาน และ คุณลักษณะการปฏิบัติงาน • 1. ผลงาน ประกอบด้วย • (1) ปริมาณงาน • (2) คุณภาพของงาน • (3) ความทันเวลา • (4) ความคุ้มค่าของงาน • (5) ผลลัพธ์ ประโยชน์ในการนำไปใช้ และประสิทธิผลของงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน 2. คุณลักษณะการปฏิบัติงาน (1) ความสามารถ และความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน (2) การรักษาวินัย และปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเป็นลูกจ้างประจำ (3) ความรับผิดชอบ (4) ความร่วมมือ (5) สภาพการมาปฏิบัติงาน (6) การวางแผน (7) ความคิดริเริ่ม สัดส่วนคะแนนการประเมิน 2 องค์ประกอบ - องค์ประกอบ ด้านผลงาน ร้อยละ 70 - องค์ประกอบ ด้านคุณลักษณะการปฏิบัติงาน ร้อยละ 30
แบบฟอร์มการประเมินผลการปฏิบัติงานแบบฟอร์มการประเมินผลการปฏิบัติงาน • ให้ลูกจ้างจัดทำแบบประเมินขึ้นใหม่ ประกอบกับแบบประเมินเดิมที่ใช้ในรอบ แรก เนื่องจากสัดส่วนคะแนนการประเมินเปลี่ยนไป • สัดส่วนคะแนนเปลี่ยนเป็น • - ผลงานร้อยละ70 • - คุณลักษณะการปฏิบัติงาน ร้อยละ 30 • คะแนนสัดส่วนการประเมินเดิม • - ผลงานร้อยละ 80 • - คุณลักษณะการปฏิบัติงาน ร้อยละ 20
ระดับคะแนนผลการประเมินระดับคะแนนผลการประเมิน ระดับคะแนนผลการประเมินที่ใช้สำหรับการเลื่อนขั้น
โควตาในการพิจารณาเลื่อนขั้นโควตาในการพิจารณาเลื่อนขั้น • 1 เมษายน • เลื่อนขั้น 1 ขั้น ได้ไม่เกินโควตา 14% ของจำนวนคนที่อยู่จริง ณ 1 มีนาคม ของแต่ละหน่วย • 1 ตุลาคม (ดูขั้นภาพรวมทั้งปี และวงเงินเป็นเกณฑ์ในการเลื่อน) • - ภาพรวมทั้งปี เลื่อนขั้น 2 ขั้น ได้ไม่เกินโควตา 12% ของแต่ละหน่วย ตามจำนวนคนที่อยู่จริง ณ วันที่ 1 มีนาคม • - เลื่อนได้ภายในวงเงินไม่เกิน 6% ของอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำทั้งกรมฯ ที่อยู่จริง ณ วันที่ 1 กันยายน
โควตาและวงเงินในการพิจารณาเลื่อนขั้นโควตาและวงเงินในการพิจารณาเลื่อนขั้น • วงเงิน 6% ที่ใช้เลื่อนขั้น 1 ตุลาคม • ให้รวมอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำทั้งกรมฯ X6% จะได้จำนวนเงินที่จะใช้เลื่อนขั้นประจำปี • ครึ่งปีแรกใช้เลื่อนไปแล้วเป็นเงินเท่าไรให้หักออก และนำจำนวนเงินที่เหลือไปใช้เลื่อนขั้นครึ่งปีหลัง 1 ตุลาคมโดยให้ทุกคนได้เลื่อนขั้น 1 ขั้นทุกคนก่อน ถ้ามีเงินเหลือให้นำไปเลื่อนให้แก่ผู้ได้เสนอเลื่อนขั้นกรณีดีเด่น คือ ให้ได้เลื่อนเป็น 2 ขั้นทั้งปี ทั้งนี้ภายในโควตา 15% • กรณีมีการเสนอขอเลื่อนขั้น 2 ขั้นทั้งปีมาครบ 15% ให้ไปหักเงิน/ขั้นของผู้เสนอขอขั้นลำดับท้ายของบัญชีมาเป็นเงินในการเลื่อนขั้นให้บุคคลดังกล่าว • ทั้งนี้ต้องกันเงินไว้สำหรับเลื่อนขั้นผู้อยู่ระหว่างสอบสวนทางวินัยด้วย
โควตาและวงเงินในการพิจารณาเลื่อนขั้นโควตาและวงเงินในการพิจารณาเลื่อนขั้น • ตัวอย่าง การคำนวณวงเงิน 6% ในการเลื่อนขั้น 1 ตุลาคม • ค่าจ้างลูกจ้างประจำทั้งกรมฯ ณ 1 ก.ย. จำนวน 500,000 บาท • คิดเงิน 6% คือ 500,000 x 6% = 30,000 บาท • เลื่อนขั้นรอบแรก 1 เม.ย. ใช้เงินไป 14,000 บาท • กันเงินไว้สำหรับผู้อยู่ระหว่างสอบวินัย 2,000 บาท • เหลือเงินใช้เลื่อน 1 ต.ค. = (30,000 – 14,000 – 2,000)= 14,000 บาท
แนวทางการพิจารณาเลื่อนขั้นค่าจ้าง (ส่วนกลาง) • แนวทางการพิจารณาเลื่อนขั้นลูกจ้างประจำ (ส่วนกลาง) • ให้กองการเจ้าหน้าที่เป็นหน่วยรับผิดชอบในการประสานและพิจารณาเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ ประกอบด้วย 7 หน่วยงาน • (1) สำนักงานเลขานุการกรม • (2) กองคลัง • (3) กองแผนงานและสารสนเทศ • (4) กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการ • (5) สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน • (6) สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก • (7) สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติเชียงแสน
แนวทางการพิจารณาเลื่อนขั้นค่าจ้าง (ส่วนกลาง) • หน่วยงานในส่วนกลางส่งเอกสารประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้นเพื่อเสนอคณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม พิจาณาต่อไป • แบบที่กำหนด • แบบขอเลื่อนค่าจ้าง 1,1.5 ขั้น หรือ 4%, 6% (กรณีบุคคลค่าจ้างเต็มขั้น) • แบบขอเลื่อน 0.5 ขั้น หรือร้อยละ 2 (กรณีบุคคลค่าจ้างเต็มขั้น) • แบบไม่ขอเลื่อนขั้น (ระบุสาเหตุ) • แบบสรุปสถิติวันลา
แนวทางการพิจารณาเลื่อนขั้นค่าจ้าง (ส่วนภูมิภาค) • แนวทางการพิจารณาเลื่อนขั้นลูกจ้างประจำ (ส่วนภูมิภาค) • มอบสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค เป็นหน่วยกลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงานและพิจารณาการเลื่อนขั้นค่าจ้างของลูกจ้างประจำในสังกัด และศูนย์ฯ ในเครือข่าย • คำสั่งกรมฯ 63/2551 ลงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2551แต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ในส่วนภูมิภาค • ให้ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานในเครือข่าย เสนอขอเลื่อนขั้นลูกจ้างในสังกัดให้สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคพิจารณากลั่นกรอง ก่อนนำเสนอกรม
แนวทางการพิจารณาเลื่อนขั้นค่าจ้าง (ส่วนภูมิภาค) • ให้หน่วยประเมินประกาศรายชื่อผู้มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีเด่นที่ได้เสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้าง 2 ขั้น ทั้งปี ในภาพรวมของหน่วยประเมินให้ทุกหน่วยงานในเครือข่ายทราบโดยทั่วกัน • หน่วยประเมิน (ภาค 1-12) ส่งเอกสารประกอบการพิจารณาให้กรมฯ เพื่อเสนอคณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม พิจาณาต่อไป • แบบที่กำหนด • - แบบขอเลื่อนค่าจ้าง 1,1.5 ขั้น หรือ 4%, 6% (กรณีบุคคลค่าจ้างเต็มขั้น) • - แบบขอเลื่อน 0.5 ขั้น หรือร้อยละ 2 (กรณีบุคคลค่าจ้างเต็มขั้น) • - แบบไม่ขอเลื่อนขั้น (ระบุสาเหตุ) • - แบบสรุปสถิติวันลา • - รายงานการประชุม
หลักเกณฑ์การเสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้าง • กรณีจะได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้น ครึ่งขั้น และ2% (ค่าจ้างเต็มขั้น) • ในครึ่งปีที่แล้วมามีจำนวนวันลาไม่เกิน 23 วัน หรือมาทำงานสายไม่เกินกว่า 18 ครั้ง • ยกเว้นวันลาตามระเบียบฯ ข้อ 8(8) เช่น ลาคลอด ลาอุปสมบท ฯลฯ • มีคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับเป็นที่ยอมรับได้ (60-69%) • กรณีจะได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้น 1 ขั้น และ4% (ค่าจ้างเต็มขั้น) • ในครึ่งปีที่แล้วมามีจำนวนวันลา (ยกเว้นลาพักผ่อน) และมาทำงานสายรวมกัน • ไม่เกิน 10 วัน • มีคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีเด่น (90-100%) • กรณีจะได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้น 1.5 ขั้น และ6% (ค่าจ้างเต็มขั้น) • ในครึ่งปีที่แล้วมามีจำนวนวันลา (ยกเว้นลาพักผ่อน) และมาทำงานสายรวมกัน • ไม่เกิน 10 วัน • มีคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีเด่น (90-100%) • *แต่ผู้นั้นจะต้องอยู่ในหลักเกณฑ์ตามข้อ 12 วรรคสาม
หลักเกณฑ์การเสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้าง • ความหมายของ ข้อ 12 วรรคสาม (ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2544) • *ในกรณีที่ลูกจ้างประจำผู้ใดมีผลการปฏิบัติงานอยู่ในเกณฑ์ที่ควรจะได้รับการเลื่อนขั้นค่าจ้างครึ่งปีแรกหนึ่งขั้น แต่ไม่อาจสั่งเลื่อนขั้นค่าจ้างหนึ่งขั้นได้ เพราะมีข้อจำกัดเกี่ยวกับจำนวนเงินที่จะใช้เลื่อนขั้นค่าจ้างของส่วนราชการนั้น ถ้าในการเลื่อนขั้นค่าจ้างครึ่งปีหลังลูกจ้างประจำผู้นั้นมีผลการปฏิบัติงานอยู่ในเกณฑ์ได้รับการเลื่อนขั้นค่าจ้างหนึ่งขั้นอีก และไม่มีข้อจำกัดเกี่ยวกับจำนวนเงินที่จะใช้เลื่อนขั้นค่าจ้างในคราวนั้น ผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนขั้นค่าจ้างอาจมีคำสั่งเลื่อนขั้นค่าจ้างรวมทั้งปีของลูกจ้างประจำผู้นั้นเป็นจำนวน สองขั้นได้
หลักเกณฑ์การเสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้างหลักเกณฑ์การเสนอขอเลื่อนขั้นค่าจ้าง • กรณีไม่ได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้นค่าจ้าง • ในครึ่งปีที่แล้วมามีจำนวนวันลาเกินกว่า 23 วัน หรือมีจำนวนครั้งการลารวมกัน • เกินกว่า 10 ครั้ง หรือมาทำงานสายเกินกว่า 18 ครั้ง • ยกเว้นวันลา ตามระเบียบฯ ข้อ 8(8) ลาคลอด ลาอุปสมบท ฯลฯ • มีคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานในระดับที่ต้องปรับปรุง (ต่ำกว่า 60%)
แบบฟอร์มต่างๆที่ต้องใช้ (ส่วนกลาง)
แบบฟอร์มต่างๆที่ต้องใช้ (ส่วนภูมิภาค สพภ.1-12)
ตัวอย่าง 1 เงื่อนไขในการเสนอขอเลื่อนขั้น 2 2 2 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 *สำดับความสำคัญ
ตัวอย่าง 2 เงื่อนไขในการเสนอขอเลื่อนขั้น ไม่เข้าเงื่อนไข 1.5 1.5 2 2 2 1.5 1.5 1.5 ไม่เข้าเงื่อนไข เข้าเงื่อนไข * สำดับความสำคัญ
ตัวอย่าง 3 เงื่อนไขในการเสนอขอเลื่อนขั้น 2 2 2 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 ไม่เข้าเงื่อนไข ไม่เข้าเงื่อนไข * สำดับความสำคัญ
การกรอกแบบขอเลื่อนขั้นการกรอกแบบขอเลื่อนขั้น หน่วยประเมิน สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 2 สุพรรณบุรี 1 เม.ย. 54 จำนวนลูกจ้างประจำอยู่จริง ณ 1 มี.ค. 54 จำนวน 50 คน โควตาเลื่อน 1 ขั้นได้ 14% ได้จำนวน 7 คน 1 ต.ค 54 จำนวนลูกจ้างประจำอยู่จริง ณ 1 มี.ค. 54 จำนวน 50 คน โควตาเลื่อน 2 ขั้นทั้งปี เลื่อนได้ 12%ได้จำนวน 6 คน
ตัวอย่าง การกรอกแบบขอเลื่อนขั้น
ตารางอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำตารางอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำ อัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำ แบ่งบัญชีค่าจ้างออกเป็น 4 กลุ่ม
อัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำ การใช้บัญชีค่าจ้าง 2 กลุ่มบัญชีในการเลื่อนขั้น กรณีขอเลื่อน 0.5 ขั้น แต่ค่าจ้างถึงขั้นสูงของกลุ่มบัญชีซึ่งจะต้องเลื่อนขั้นโดยใช้กลุ่มบัญชีถัดไป ให้เทียบเคียงอัตราค่าจ้างปัจจุบัน กับกลุ่มบัญชีถัดไปที่มากกว่าใกล้เคียงกันและเลื่อนไปอีก 0.5 ขั้น
ตารางอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำตารางอัตราค่าจ้างลูกจ้างประจำ
? การเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ