1 / 50

ว 30131 เคมีพื้นฐาน

ว 30131 เคมีพื้นฐาน. พันธะเคมี. Valent Bond Theory (VBT). นายศราวุทธ แสงอุไร ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์. วันที่ 31 กรกฎาคม 2552. Valent Bond Theory (VBT). Background Electron configuration Atomic orbital s p d Covalent Form VSEPR structure.

benito
Download Presentation

ว 30131 เคมีพื้นฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ว30131 เคมีพื้นฐาน • พันธะเคมี Valent Bond Theory (VBT) นายศราวุทธ แสงอุไร ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ วันที่ 31 กรกฎาคม 2552 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  2. Valent Bond Theory (VBT) • Background • Electron configuration • Atomic orbital s p d • Covalent Form • VSEPR structure พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  3. กระบวนการเกิดพันธะโควาเลนต์กระบวนการเกิดพันธะโควาเลนต์ • การที่อะตอมสองอะตอมใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเกิดจากการเคลื่อนที่เข้าหากันของอะตอมทั้งสอง แล้วเกดการซ้อนเกย ของอะตอมมิกออบิตอล ลักษณะนี้เราเรียกว่า เกิดการ Overlap พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  4. ลักษณะการ Overlap ของอะตอมมิก ออบิตอล พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  5. พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  6. พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  7. การใช้ VBT ในการอธิบายการเกิดของ F2 • จัดเรียงอิเล็กตรอนของ F พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  8. z เขียนภาพ รูปร่าง ออบิตอล • F F • เขียนอธิบายพันธะใน Cl2 ด้วย VBT z พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  9. การใช้ VBT ในการอธิบายการเกิดของ O2 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  10. z เขียนภาพ รูปร่าง ออบิตอลการใช้ VBT ในการอธิบายการเกิดของ O2 • O O y y z พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  11. z เขียนภาพ รูปร่าง ออบิตอลการใช้ VBT ในการอธิบายการเกิดของ N2 • N N y y z พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  12. การใช้ VBT ในการอธิบายการเกิดของ BeF2 และ CH4 • Be • C พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  13. พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  14. กระบวนการ Hybridization พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  15. Promotion electron Be • ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยวในการสร้างพันธะ 2 ออบิตอล พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  16. Hybridization sp พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  17. พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  18. Hybridization sp2 ของ BF3 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  19. Promotion electron Boron • ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยวในการสร้างพันธะ 3 ออบิตอล พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  20. Hybridization sp2 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  21. การอธิบายการเกิดของ BF3 ที่มีรูปร่าง สามเหลี่ยม • มุม ระหว่างพันธะ 120o รูปร่าง สามเหลี่ยม trigonal planar พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  22. Hybridization sp3 ของ CH4 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  23. Promotion electron Carbon • ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยวในการสร้างพันธะ 4 ออบิตอล พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  24. Hybridization sp3 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  25. พิจารณามุมของแต่ละกลุ่มอิเล็กตรอนพิจารณามุมของแต่ละกลุ่มอิเล็กตรอน • มุม ระหว่างพันธะ 109.5o รูปร่างเป็นแบบ tetrahedral พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  26. Hybridization sp3 ของ CH4 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  27. Hybridization ของ H2O • H2O พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  28. ไม่ต้อง Promotion เพราะ มีอิเล็กตรอนเดี่ยวที่จะสร้างพันธะพอแล้ว พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  29. พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  30. การ Hybridization ของโมเลกุลที่มีพันธะคู่ • C2H4 • ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยวที่ใช้ในการสร้างพันธะ 4 อิเล็กตรอน • มุมระหว่างพันธะ 120o ควร Hybridization แบบ sp2 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  31. Promotion และ sp2 Hybridization • ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยว 4 อิเล็กตรอน พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  32. พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  33. พิจารณาโครงสร้างของ C2H4 ที่ควรเป็น พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  34. C2H4 • พันธะระหว่าง คาร์บอน จึงเป็น พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  35. การ Hybridization ของโมเลกุลที่มีพันธะสาม • C2H2 • ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยวที่ใช้ในการสร้างพันธะ 4 อิเล็กตรอน • มุมระหว่างพันธะ 180o ควร Hybridization แบบ sp พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  36. Promotion และ sp Hybridization • ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยว 4 อิเล็กตรอน พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  37. พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  38. สำหรับบางโมเลกุล ที่เกินกฎออกเตต • PCl5 • ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยว 5 ออบิตอล พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  39. Promotion Promotion และ Hybridization sp3d • ต้องทำ promotion electron พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  40. Hybridization sp3d Promotion และ Hybridization sp3d • พิจารณากลุ่มอิเล็กตรอนของ sp3d มี5 กลุ่มอิเล็กตรอน แบบ trigonalbipyramid พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  41. sp3d pz • รูปร่างโมเลกุลของ PCl5 sp3d sp3d pz sp3d pz pz sp3d sp3d pz พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  42. สำหรับโมเลกุลที่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวบางโมเลกุลสำหรับโมเลกุลที่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวบางโมเลกุล • ClF3 XeF2 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  43. Promotion และ Hybridization sp3d • ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยว 3 ออบิตอล Promotion พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  44. Promotion และ Hybridization sp3d • พิจารณากลุ่มอิเล็กตรอนของ sp3d มี5 กลุ่มอิเล็กตรอน แบบ trigonalbipyramid Hybridization sp3d พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  45. sp3d pz • รูปร่างโมเลกุลของ ClF3 sp3d sp3d sp3d pz sp3d sp3d pz พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  46. Promotion และ Hybridization sp3d2 • SF6 ต้องทำ promotion electron • เพื่อได้อิเล็กตรอนเดี่ยว 6 electron พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  47. Promotion และ Hybridization sp3d2 • พิจารณากลุ่มอิเล็กตรอนของ sp3d2มี6 กลุ่มอิเล็กตรอน แบบ octahedral Promotion พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  48. pz pz pz pz sp3d2 • รูปร่างโมเลกุลของ SF6 sp3d2 sp3d2 sp3d2 sp3d2 pz sp3d2 pz sp3d2 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  49. sp3d2 ที่มี อิเล็กรอนคู่โดดเดี่ยว • IF5 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

  50. แหล่งอ้างอิง • Martin S. Silberberg, Chemistry: The Molecular Nature of Matter and Change, McGraw-Hill Higher Education, 2004 • Raymond Chang, Chemistry, Williams College, McGraw-Hill Higher Education, 2002 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

More Related