1 / 115

บทบาทของพระสงฆ์ ในการอบรมเด็กเรื่องบุหรี่

บทบาทของพระสงฆ์ ในการอบรมเด็กเรื่องบุหรี่. ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ 30 มิถุนายน 2556 ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณ ราชวิทยาลัย จ. พระนครศรีอยุธยา. จำนวนและอัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบัน ของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป. อัตราการสูบบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป แบ่งตามเพศ.

benson
Download Presentation

บทบาทของพระสงฆ์ ในการอบรมเด็กเรื่องบุหรี่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทของพระสงฆ์ในการอบรมเด็กเรื่องบุหรี่บทบาทของพระสงฆ์ในการอบรมเด็กเรื่องบุหรี่ ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ 30 มิถุนายน 2556 ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จ.พระนครศรีอยุธยา

  2. จำนวนและอัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป

  3. อัตราการสูบบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป แบ่งตามเพศ

  4. อัตราการสูบบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป แบ่งตามเขตการปกครอง

  5. GATS 2552

  6. อัตราการสูบบุหรี่ (GATS 2552) NSO อายุเฉลี่ยของคนไทยที่เลิกสูบบุหรี่ได้ = 41 ปี

  7. ประชากรอายุ >15 ปี GATS 2552

  8. อัตราการสูบบุหรี่ประชากรไทย (%) สำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ.2552

  9. การได้รับควันบุหรี่มือสองประชากรอายุ >15 ปี (%) GATS 2552

  10. ในผู้ที่เลิกสูบไม่ได้ในผู้ที่เลิกสูบไม่ได้ ในประเทศพัฒนาแล้ว ครึ่งหนึ่ง ในประเทศกำลังพัฒนา หนึ่งในสาม จะเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่

  11. GATS 2552 • 28.8%ของคนไทยที่เคยสูบบุหรี่ เป็นประจำ เลิกสูบบุหรี่ได้ • จำนวนคนไทยที่สูบบุหรี่เป็นประจำ = 10.69 ล้านคน ที่มีอยู่ขณะนี้ • ถ้า 28.8%เลิกได้ = 3.07 ล้านคน • ที่จะเลิกไม่ได้ = 7.62 ล้านคน ถ้า 1/3 เสียชีวิต = 2.54 ล้านคน ถ้า ½ เสียชีวิต = 3.81 ล้านคน

  12. กลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหา / น่าเป็นห่วง • นักสูบหน้าใหม่ โดยเฉพาะนอกเขตเทศบาล • นักสูบหน้าใหม่เพศหญิงในเขตเมือง • ผู้สูบบุหรี่ที่อายุ 25-44 ปี ทั่วประเทศ • ผู้สูบบุหรี่ภาคใต้ • ผู้สูบบุหรี่ที่มีโรคเรื้อรัง 5 โรค ที่มีจำนวน = 2.5 ล้านคน

  13. Action on Smoking and heath Foundation/มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ พิษภัยจากการสูบบุหรี่ ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ที่ปรึกษาสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 1 กันยายน 2555

  14. ประเทศอังกฤษ • โดยเฉลี่ยในผู้ที่อายุ ๒๐ ปีที่สูบบุหรี่เป็นประจำ ๑,๐๐๐ คน • ๑ คน จะตายจากการถูกฆาตกรรม • ๖ คน จะตายจากอุบัติเหตุรถยนต์ • ๒๕๐ คน จะตายจากการสูบบุหรี่ให้วัยกลางคน • ๒๕๐ คน จะตายจากการสูบบุหรี่ในวัยสูงอายุ เซอร์ ริชาร์ดปิโต ๑๙๙๔

  15. การเสียชีวิตของคนไทยจากโรคที่เกิดจากกการสูบบุหรี่

  16. 1. สถิติคนไทยที่เสียชีวิตในปี พ.ศ.2552 • จำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมดจากทุกโรค = 415,900 คน • จำนวนผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ = 48,244 คน = 11.59% หรือ 1 ในทุก 8.6 คนไทยที่เสียชีวิตมีสาเหตุจากการสูบบุหรี่

  17. 2. 3 ใน 10 ของผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ตายก่อนอายุ 60 ปี • ในจำนวนผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ = 48,244 คน • เป็นผู้ที่เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี = 14,204 คน = 29.49% ของผู้ที่เสียชีวิตจากบุหรี่ทั้งหมด

  18. 3. การเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่แยกตามเพศ • จำนวนเพศชายที่เสียชีวิตทั้งหมดจากทุกสาเหตุ =235,254 คน • เสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ = 40,995 คน = 17.4%หรือ 1 ในทุก 5.7 ชายไทย ที่เสียชีวิตมีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่

  19. 4. จำนวนเพศหญิงที่เสียชีวิตทั้งหมดจากทุกสาเหตุ • จำนวนเพศหญิงที่เสียชีวิตทั้งหมดจากทุกสาเหตุ = 180,647 คน • เสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ = 7,249 คน = 4 % หรือ 1 ในทุก 24 หญิงไทย ที่เสียชีวิตมีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่

  20. 5. ประมาณการจำนวนผู้ที่เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ.2536-2552 • การเสียชีวิตของคนไทยจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ • พ.ศ.2536(1) = 41,000 คน • พ.ศ.2547(2) = 41,183 คน • พ.ศ.2552(3) = 48,244 คน • ระหว่าง พ.ศ.2536-2552 จะมีคนไทยเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่อย่างน้อยที่สุด 640,000 คน • ทั้งนี้ไม่นับรวมจำนวนคนไทยที่เสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสอง เนื่องจากไม่มีการรวบรวมข้อมูล

  21. สถิติโรคที่ภิกษุ-สามเณรป่วยเข้ารักษาตัว ในรพ.สงฆ์๑๐ ลำดับแรก (ลำดับ 1. ต้อหิน 3. เบาหวาน 4.ความดันสูง 7.ไตวาย 9.ไส้เลื่อน) งานเวชระเบียนสถิติ โรงพยาบาลสงฆ์ พ.ศ.2546-47

  22. สถิติโรคที่พระภิกษุสงฆ์ สามเณรมรณภาพ (ลำดับ 4.ไตวาย 5.มะเร็งตับ 6. เบาหวาน 10.ตับแข็ง) งานเวชระเบียนสถิติ โรงพยาบาลสงฆ์ พ.ศ.2546-47

  23. อำนาจการเสพติดของยาสูบอำนาจการเสพติดของยาสูบ นิโคติน > เฮโรอิน > โคเคน > แอลกอฮอล์ > คาแฟอิน ความยากในการเลิก นิโคติน = เฮโรอิน = โคเคน = แอลกอฮอล์ > คาแฟอิน ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งลอนลอน 2543

  24. การเสพติดบุหรี่ 1. บริษัทบุหรี่รู้มา 50 ปีแล้ว ว่าบุหรี่มีอำนาจการเสพ ติดรุนแรง จากบันทึกของบริษัทบุหรี่ พ.ศ.2506 “นิโคตินทำให้เกิดการเสพติด เพราะฉะนั้น เราจึง อยู่ใน ธุรกิจของการขายนิโคติน ซึ่งเป็นยาเสพติด”

  25. “เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า บุหรี่เป็นสิ่งเสพติด ผู้สูบบุหรี่จำนวนมากยังคงสูบต่อไป เพราะไม่สามารถเลิกได้ ถ้าเลิกได้ก็คงเลิกไปแล้ว” พ.ศ.2523 บันทึกบริษัทบุหรี่

  26. 2. การทดลองในสัตว์ทดลองพบว่าหนู ลิง และสุนัขที่ติด นิโคตินแล้ว จะเรียนรู้ที่จะกดสวิตซ์เพื่อให้ได้รับนิโคติน เข้าสู่ร่างกายทางสายน้ำเกลือ สุนัขจะเพียรกดสวิตซ์ หลาย ๆ ครั้ง จนกว่าจะได้รับนิโคติน ในการทดลองแบบเดียวกันในหนู พบว่าหนูที่กดสวิตซ์ ไปหลาย ๆ ครั้งแล้วไม่ได้รับนิโคติน หนูจะเลิกกดสวิตซ์

  27. 3. การสูบบุหรี่หรือการใช้ยาสูบรูปแบบอื่น เช่น การ เคี้ยวยาเส้น การสูบบารากู่ การสูบบุหรี่ไฟฟ้า ล้วนเป็นเพียงวิธีการที่นำนิโคติน (ยาเสพติด) เข้าสู่ ร่างกาย

  28. 4. กระทรวงสาธารณสุขสหรัฐอเมริกา ประกาศอย่างเป็นทางการว่า - การสูบบุหรี่เป็นการติดสิ่งเสพติด - นิโคตินคือสารเคมีในบุหรี่ที่ทำให้เกิดการเสพติด - การเสพติดนิโคตินมีคุณลักษณะเหมือนการติด ยาเสพติดอื่น เช่น เฮโรอีน โคเคน

  29. 5. การวิจัยพบว่า นิโคตินมีอำนาจการเสพติดเทียบเท่ากับ เฮโรอีน และเลิกยากเท่าการเลิกเฮโรอีน 6. การสำรวจเมื่อ พ.ศ.2552 พบว่าครึ่งหนึ่งของคนไทยที่ สูบบุหรี่ (หกล้านคนจากสิบสองล้านคน) พยายามที่จะ เลิกสูบบุหรี่ แต่เลิกไม่ได้

  30. 7. การสำรวจเมื่อ พ.ศ. 2554 พบว่าในจำนวนคนไทยที่สูบ บุหรี่ทั้งหมด มีเพียงร้อยละ 27 เท่านั้นที่เลิกสูบบุหรี่ได้ 8. การสำรวจเมื่อ พ.ศ.2557 พบว่ามีกลุ่มประชากรไทยที่ จนที่สุด หนึ่งล้านสามแสนคนที่เสพติดบุหรี่ มีรายได้ เฉลี่ยคนละ 2,000 บาทต่อเดือน แต่ใช้เงินไปในการซื้อ บุหรี่เฉลี่ย 547 บาทต่อเดือน

  31. 9. ในคนที่สูบบุหรี่จนเป็นโรคเส้นเลือดหัวใจตีบที่ได้รับ การรักษาด้วยการผ่าตัดเส้นเลือดหัวใจ พบว่าหลัง ผ่าตัดหนึ่งปี ครึ่งหนึ่งของคนไข้เหล่านี้จะกลับไป สูบบุหรี่ใหม่ ทั้ง ๆ ที่แพทย์ห้ามสูบเด็ดขาด

  32. 10. กล่าวได้ว่า - ผู้สูบบุหรี่ที่สูบบุหรี่ต่อไปทั้ง ๆ ที่รู้ว่าเป็นอันตราย เพราะ เสพติดนิโคติน - บริษัทบุหรี่พยายามทุกวิถีทางที่จะทำให้คนติดบุหรี่ เพราะเสพติดผลกำไรจากการขายบุหรี่ - รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ที่ไม่จริงจังกับการควบคุม ยาสูบเพราะเสพติดภาษียาสูบ

  33. 11. การสำรวจในวัยรุ่นไทยพบว่า วัยรุ่นที่สูบบุหรี่มี การใช้ยาเสพติดชนิดอื่นร่วมด้วย มากกว่าวัยรุ่น ที่ไม่สูบบุหรี่ถึง 17 เท่า

  34. 12. อุปสรรคสำคัญที่ทำให้การรณรงค์ลดจำนวนผู้สูบ บุหรี่ เป็นไปด้วยความลำบาก ก็เพราะอำนาจการ เสพติดที่รุนแรงของบุหรี่ และกลยุทธ์ของบริษัทบุหรี่ ที่เพิ่มอำนาจการเสพติดของบุหรี่ โดยการเติมสาร แอมโมเนียในขบวนการผลิต ซึ่งทำให้นิโคตินถูกดูด ซึมเข้าสมองเร็วขึ้น มีผลทำให้ฤทธิ์เสพติดเพิ่มขึ้น

  35. การสูบบุหรี่กับพฤติกรรมเสี่ยงของนักเรียน-นักศึกษาการสูบบุหรี่กับพฤติกรรมเสี่ยงของนักเรียน-นักศึกษา 4,645 ตัวอย่างจาก 25 จังหวัดทั่วประเทศ สูบ (%) ไม่สูบ (%) สูบ : ไม่สูบ 1.การดื่มเหล้า 88.5 25.2 3.5 2.การเที่ยวสถานบันเทิง 68.1 21.3 3.0 3.การเล่นการพนัน 40.7 12.4 3.3 4.การเสพยาเสพติด 10.6 0.6 17.6 5.การมีเพศสัมพันธ์ 67.4 18.0 3.7 สำนักงานวิจัยเอแบคโพลล์ 2547

  36. การที่สังคมต้องจริงจังต่อการควบคุมการสูบบุหรี่เพราะ • การเสพติดบุหรี่ติดขณะเป็นวัยรุ่น • เป็นพฤติกรรมเสี่ยงที่เกิดขึ้นขณะเป็นวัยรุ่นที่ส่งผลต่อการมี สุขภาพทรุดโทรมเมื่อเป็นผู้ใหญ่ที่สำคัญที่สุด • ครึ่งหนึ่งของผู้ที่เสพติดแล้วไม่เลิกจะเสียชีวิตจากพฤติกรรมนี้ • ในคนไทย 10 คนที่ติดบุหรี่มี 3 คนเท่านั้นที่จะเลิกได้ • ผู้ใหญ่ที่ติดบุหรี่ร้อยละ 60 อยากเลิกแต่ไม่สามารถเลิกได้ • ผู้ที่เสพติดบุหรี่ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ด้อยการศึกษาและยากจน • บุหรี่ก่อให้เกิดการสูญเสียทั้งทางสุขภาพและเศรษฐกิจ • การควบคุมการสูบบุหรี่เป็นการลงทุนที่คุ้มค่าทำไมไม่ทำ

  37. การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) จำนวนผู้เสียชีวิตจากทุกสาเหตุ = 415,900 คน เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) = 210,964 คน =50.7% นั่นคือ ครึ่งหนึ่งของคนไทยเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ 5 โรค (โรคมะเร็ง โรคเส้นเลือดสมอง โรคเส้นเลือดหัวใจ โรคเบาหวาน โรคถุงลมพอง) คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554

  38. การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 • โรคมะเร็ง =80,711 คน • โรคเส้นเลือดสมอง = 50,829 คน • โรคเส้นเลือดหัวใจ = 34,384 คน • โรคเบาหวาน =26,380 คน • ถุงลมโป่งพอง = 18,660 คน รวม =210,964 คน คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554

  39. การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 จำนวนผู้เสียชีวิต =210,964 เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี = 56,960 =27% คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554

  40. 4 ปัจจัยเสี่ยง • ยาสูบ • อาหารไม่ถูกสุขลักษณะ • ขาดการออกกำลังกาย • สุรา เป็นสาเหตุของ 4 กลุ่มโรคไม่ติดต่อหลัก • โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง • โรคมะเร็ง • โรคเบาหวาน • โรคปอดเรื้อรัง ซึ่งเท่ากับ 80%ของโรคไม่ติดต่อทั้งหมด

  41. ปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ (หลัก)

  42. จำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ (หลัก) • ความดันโลหิตสูง = 10.0 ล้านคน • เบาหวาน =3.2 ล้านคน • โรคหัวใจ =690,000 คน • โรคเส้นเลือดสมอง = 730,000 คน • โรคถุงลมพอง =270,000 คน การสำรวจสุขภาพประชากรไทย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2552

  43. การเสียชีวิตของคนไทยจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2552 • โรคมะเร็งปอด = 11,210 คน • โรคมะเร็งอื่น ๆ = 6,831 คน • โรคถุงลมพอง =11,614 คน • โรคปอดอื่น ๆ = 2,841 คน • โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง = 10,945 คน • โรคอื่น ๆ = 4,803 คน รวม = 48,244 คน คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554

  44. คนไทย 48,244 คน ที่เสียชีวิตจากโรค ที่เกิดจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2552 • โดยเฉลี่ยแต่ละคนป่วยหนักเป็นเวลา = 2.1 ปี • รวมเวลาที่เจ็บป่วยหนัก =104,374 ปี • โดยเฉลี่ยอายุสั้นลงคนละ =12.1 ปี • รวมเวลาของชีวิตที่เสียไป =587,710 ปี บุหรี่เป็นสาเหตุของการสูญเสียเวลาแห่งชีวิต อันดับที 2 ของคนไทย คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554

  45. ความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากโรคเรื้อรัง พ.ศ.2552 โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยง กระทรวงสาธารณสุข 2555

  46. ต้นทุนทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากโรคเรื้อรัง 4 โรค ในประเทศไทย พ.ศ.2552 โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยง กระทรวงสาธารณสุข 2555

  47. ทำไมจึงต้องรณรงค์ให้คนไทยไม่สูบบุหรี่ในบ้านทำไมจึงต้องรณรงค์ให้คนไทยไม่สูบบุหรี่ในบ้าน

More Related