1 / 33

สถานภาพด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศไทย

สถานภาพด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศไทย. โดย ดร. ญาดา มุกดาพิทักษ์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. ณ ห้องวิวัฒนไชย ชั้น 8 อาคารบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันจันทร์ที่ 24 มีนาคม 2546. ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์

berk-hoover
Download Presentation

สถานภาพด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานภาพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยสถานภาพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย โดย ดร. ญาดา มุกดาพิทักษ์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ณ ห้องวิวัฒนไชย ชั้น 8 อาคารบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันจันทร์ที่ 24 มีนาคม 2546

  2. ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศในระดับนานาชาติ

  3. WEF : Growth Competitiveness Index 2002-2003 Ranking

  4. Growth Competitiveness Ranking (GCI) ของประเทศไทย ปี 1996-2002

  5. วิธีการคำนวณ GCI index

  6. อันดับของประเทศไทยในแต่ละปัจจัยย่อยของ GCI ปี 2002-2003

  7. ปัจจัยที่ใช้ในการวัด GCI index

  8. IMD : Competitive Scoreboard 2002 100 80 อันดับที่ 34 60 40 20 0 USA ITALY INDIA CHILE SPAIN JAPAN CHINA CZECH KOREA SOUTH ISRAEL BRAZIL RUSSIA UNITED FRANCE SLOVAK TURKEY GREECE MEXICO POLAND TAIWAN CANADA SWEDEN ICELAND IRELAND AUSTRIA FINLAND ESTONIA NORWAY BELGIUM HUNGARY GERMANY DENMARK SLOVENIA MALAYSIA PORTUGAL COLOMBIA AUSTRALIA INDONESIA VENEZUELA SINGAPORE ARGENTINA HONG KONG PHILIPPINES LUXEMBOURG NEW ZEALAND SWITZERLAND NETHERLANDS THAILAND ที่มา :IMD, The World Competitiveness Yearbooks, 2002.

  9. ปัจจัยวัดความสามารถในการแข่งขันของ IMD ศักยภาพทางเศรษฐกิจ ประสิทธิภาพของรัฐบาล โครงสร้างพื้นฐาน ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ

  10. ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ที่มา :IMD, The World Competitiveness Yearbooks, 2002 หมายเหตุ: 1 จากประเทศทั้งหมด 47 ประเทศ 2 จากประเทศทั้งหมด 49 ประเทศ

  11. ปัจจัยวัดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ปัจจัยวัดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ • ค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนา • บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา • การวิจัยขั้นพื้นฐาน • บทความตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์ • การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในโรงเรียน • วิทยาศาสตร์กับการศึกษาและเยาวชน • รางวัลโนเบล • สิทธิบัตร ที่มา : The International Institute for Management Development (IMD)

  12. ปัจจัยวัดความสามารถด้านเทคโนโลยีปัจจัยวัดความสามารถด้านเทคโนโลยี • ความร่วมมือทางด้านเทคโนโลยี • การพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยี • ทรัพยากรด้านการเงิน • การส่งออกสินค้าเทคโนโลยีขั้นสูง • จำนวนโทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต • ทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • การลงทุนทางด้านการติดต่อสื่อสาร ที่มา : The International Institute for Management Development (IMD)

  13. ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา

  14. ค่าใช้จ่ายทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศ ปี 1999-2001 ที่มา: การวิจัยและพัฒนา และกิจกรรมนวัตกรรมทางเทคโนโลยีในภาคอุตสาหกรรมการผลิต ของประเทศไทย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

  15. ปี 2000 ปี 2001 การเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา ระหว่างภาครัฐและเอกชน

  16. งบประมาณ/รายจ่ายด้านการวิจัยและพัฒนางบประมาณ/รายจ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา ของภาครัฐปี 1999-2002 ที่มา : สำนักงบประมาณและกรมบัญชีกลาง

  17. ค่าใช้จ่ายทางการวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชน ปี 2000-2001 ที่มา: การวิจัยและพัฒนา และกิจกรรมนวัตกรรมทางเทคโนโลยีในภาคอุตสาหกรรมการผลิต ของประเทศไทย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

  18. GERD ต่อ GDP ของประเทศต่าง ๆ ที่มา : OCED, 2001

  19. บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา

  20. บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา (FTE) หมายเหตู:1 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

  21. บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศต่าง ๆ ที่มา : The World Competitiveness Yearbook 2002, IMD หมายเหตุ:1 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

  22. สถานภาพการผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์สถานภาพการผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศ

  23. 26: 74 29: 71 บัณฑิตสายวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ในระดับปริญญาตรี • ที่มา: 1. ทบวงมหาวิทยาลัย (มหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยเอกชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง • และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช) • 2. กระทรวงศึกษาธิการ (สถาบันราชภัฏ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และกรมอาชีวศึกษา)

  24. 20 : 80 27 : 73 บัณฑิตสายวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ในระดับปริญญาโท ที่มา: ทบวงมหาวิทยาลัย

  25. 53 : 73 บัณฑิตสายวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ในระดับปริญญาเอก 53: 73 ที่มา: ทบวงมหาวิทยาลัย

  26. สัดส่วนนักศึกษาใหม่และผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีของประเทศต่าง ๆ ปี 2543 ที่มา:UNESCO, World Education Report, 2000

  27. การจดสิทธิบัตรโดยคนไทยการจดสิทธิบัตรโดยคนไทย

  28. จำนวนการจดสิทธิบัตรในประเทศไทยจำนวนการจดสิทธิบัตรในประเทศไทย ที่มา : กรมทรัพย์สินทางปัญญา

  29. จำนวนการจดสิทธิบัตรในประเทศสหรัฐอเมริกาโดยคนไทยจำนวนการจดสิทธิบัตรในประเทศสหรัฐอเมริกาโดยคนไทย ที่มา : United States Patent and Trademark Office

  30. จำนวนการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์ในประเทศไทยจำแนกตามสิทธิบัตรสากลจำนวนการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์ในประเทศไทยจำแนกตามสิทธิบัตรสากล ที่มา : กลุ่มงานคอมพิวเตอร์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา

  31. บทความตีพิมพ์ในวารสารมาตรฐานสากลบทความตีพิมพ์ในวารสารมาตรฐานสากล

  32. ดัชนีบทความตีพิมพ์ในวารสารมาตรฐานสากลดัชนีบทความตีพิมพ์ในวารสารมาตรฐานสากล ที่มา : ศูนย์บริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

  33. บทความตีพิมพในวารสารมาตรฐานสากลของประเทศไทย ปี 1996-2001 ที่มา : ศูนย์บริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

More Related